Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39869
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร.วรรณภา ลีระศิริ-
dc.contributor.authorสฤษพล พิทักษากรen_US
dc.date.accessioned2016-12-16T08:18:08Z-
dc.date.available2016-12-16T08:18:08Z-
dc.date.issued2015-07-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39869-
dc.description.abstractThe independent study, “the RTAF Civil Affairs’ Policy on Public Relations: Permission to Use the RTAF Base Roadways for Traffic”, aims to (1) assessed levels of satisfaction of the people who use through roads on the RTAF base and possible impacts resulted from permitting non-RTAF personnel to use the RTAF roadways, (2) analyzed the RTAF Civil Affairs’ policy on public relations and the people in the areas of this study regarding the permission to use the RTAF base roadways, and (3) analyzed the RTAF Civil Affairs’ Policy which is implemented according to the role of the Military in politics and governance. This study aimed to find out why the Royal Thai Air Force has permitted the public to use the RTAF restricted areas for traffic, whether or not this policy satisfied the public road users, and whether or not this policy correlates with the RTAF Civil Affairs’ policy on public relations and the role of the Royal Thai Air Force in politics and governance and in what way. The research of this study used both quantitative and qualitative research methods. The data collection and analysis are based on questionnaires of 800 people who applied for RTAF road passes for RTAF Don Muang Air Force Base in Bangkok and for Wing 41 in Chiang Mai and interviewed with RTAF personnel at both strategic level and operational level. The research findings revealed that the permission for the public to use roadways within the RTAF restricted areas for traffic satisfies the survey respondents in the areas of both the RTAF Don Muang Air Force Base in Bangkok and Wing 41 in Chiang Mai and this policy enhanced their positive attitudes towards the Royal Thai Air Force. The result from the qualitative data analysis revealed that the policy was a part of the RTAF Civil Affairs’ policy and are continuously supported by the RTAF policy planners who would like to solve the problems for the public. In addition, there is a correlation between the RTAF Civil Affairs’ policy on public relations and the role of the Royal Thai Air Force in politics and governance. In other words, the RTAF Civil Affairs’ policy aimed to strengthen good relationship with the public in order to enhance their positive attitudes and brought good reputation to the Royal Thai Air Force who will obtain full support for any missions which may have an undesirable impact on the public. The policy also allowed the public to be able to prevent any political interference.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleนโยบายกิจการพลเรือนของกองทัพอากาศด้านมวลชน สัมพันธ์ในการอนุญาตให้ใช้เส้นทางภายในกองทัพอากาศ เพื่อการจราจรen_US
dc.title.alternativeAir Force’s Civil Affair for Public Relations Regarding Permission of Traffic in Air Force’s Areasen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระ เรื่อง “นโยบายกิจการพลเรือนของกองทัพอากาศด้านมวลชนสัมพันธ์ในการอนุญาตให้ใช้เส้นทางภายในกองทัพอากาศ เพื่อการจราจร” มีวัตถุประสงค์ในการวิจัยเพื่อ 1) ประเมินความพึงพอใจของประชาชนที่ใช้เส้นทางผ่านพ้นที่กองทัพอากาศ และผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเปิดให้ใช้พื้นที่ของกองทัพอากาศเพื่อเป็นเส้นทางการจราจรของบุคคลทั่วไป 2) วิเคราะห์นโยบายของกองทัพอากาศด้านมาลชนสัมพันธ์กับประชาชนในพื้นที่ทำการศึกษาจากกรณีการให้ใช้เส้นทางภายในพื้นที่กองทัพอากาศ และ 3) วิเคราะห์นโยบายด้านกิจการพลเรือนกองทัพอากาศที่นำมาปฏิบัติใช้ในลักษณะของการ มีบทบาททางการเมืองการปกครองของทหาร การศึกษานี้ต้องการตอบคำถามว่า เพราะเหตุใดกองทัพอากาศจึงอนุญาตให้ประชาชนทั่วไปใช้พื้นที่ภายในกองทัพซึ่งเป็นเขตหวงห้ามเพื่อการจราจรนโยบายดังกล่าวได้รับผลตอบรับที่ดีหรือไม่จากประชาชนผู้ใช้เส้นทาง นโยบายเชื่อมโยงกับนโยบายกิจการพลเรือนด้านมวลชนสัมพันธ์ของ กองทัพอากาศและบทบาททางการเมืองของกองทัพอากาศหรือไม่ อย่างไร ผู้วิจัยได้ทำการศึกษาโดยใช้วิธีการทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยการ เก็บรวบรวมข้อมูล จากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องการสำรวจข้อมูลจากประชาชน ที่ขอทำบัตรอนุญาตผ่านพื้นที่ กองบัญชาการกองทัพอากาศ ดอนเมือง กรุงเทพฯ และพื้นที่ กองบิน 41 จ.เชียงใหม่ จำนวน 800 คน โดยการใช้แบบสอบถาม และการสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่กองทัพอากาศ ระดับนโยบายและระดับปฎิบัติ ผลการศึกษาพบว่าการอนุญาตให้ประชาชนใช้พื้นที่หวงห้ามภายในกองทัพอากาศเพื่อการจราจรนั้นได้รับการตอบรับอย่างดีจากผู้ให้ข้อมูลทั้งในพื้นที่กองทัพอากาศดอนเมือง กรุงเทพฯ และกองบิน 41 จังหวัดเชียงใหม่ทำให้เกิดความรู้สึกในเชิงบวกต่อกองทัพอากาศ ผลจากการศึกษาเชิงคุณภาพพบว่า นโยบายดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายกิจการพลเรือนของกองทัพอากาศและได้รับการสนับสนุนอย่างต่อเนื่องจากผู้กำหนดนโยบายของกองทัพที่ต้องการแก้ไขปัญหาของประชาชนผู้ศึกษายังพบความเชื่อมโยงของนโยบายด้านกิจการพลเรือนกับการวางตัวในบทบาททางการเมืองของกองทัพอากาศ กล่าวคือ นโยบายด้านกิจการพลเรือนเป็นการสร้างความสัมพันธ์อันดีกับประชาชนหรือการสร้างความนิยมและความรู้สึกในเชิงบวกต่อกองทัพอากาศส่งผลให้เกิดความชอบธรรมและได้รับแรงสนับสนุนจากประชาชนในการปฎิบัติงานที่อาจมีผลกระทบต่อประชาชนและยังให้ประชาชนเป็นผู้คอยตรวจสอบการเข้ามาแทรงแซงจากกลุ่มอำนาจทางการเมืองอีกทางหนึ่งen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract56.38 kBMicrosoft Word XMLView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract367.55 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS3.79 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.