Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39866
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร.จารุณี มณีกุล-
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร.ชรินทร์ มั่งคั่ง-
dc.contributor.authorราตรี ช่างปัดen_US
dc.date.accessioned2016-12-16T08:10:47Z-
dc.date.available2016-12-16T08:10:47Z-
dc.date.issued2015-06-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39866-
dc.description.abstractThe purpose of this study was to explore the use of community learning resources of social studies teachers, Fangchanupathum School, Chiang Mai Province. The target group was composed of 9 social studies teachers. The research instruments were relating to a construct interview form about community learning resource the focus group form natural, social and cultural and resource community organization. The data obtained were analyzed using mean and standard deviation. The finding revealed that most of the social studies teachers were male. Most of them were 46 years old up and graduated in Bachelor degree (Social Studies) with 15 years teaching experience. The data obtained has shown that the level of using the community learning resources of social studies teachers, Fangchanupathum School, Chiang Mai Province was the most in generally with the mean of 2.15 and standard deviation was at 2.08. Moreover, they have used the social and culture learning resources the most with the mean of 2.54, the natural learning resources (2.18), the place and community resources (1.74) respectively. The problems found in this study were the lack of planning, public relation, budget and cultural diversity for using the community learning resources. The recommendations showed that the community learning resources should be used for teaching and learning more. Besides, the school should cut the problems of the use of community learning resources off by planning to use the community learning resources, presentation the director projects and coordination with the community early. In addition, the community should be participated in planning, monitor and improvement for the use of community learning resources.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการใช้แหล่งเรียนรู้ชุมชนเมืองฝางของครูสังคมศึกษา โรงเรียนฝางชนูปถัมภ์ จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeUsing Mueang Fang Community Learning Resources of Social Studies Teachers, Fangchanupathum School, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาการใช้แหล่งเรียนรู้ชุมชนเมืองฝางของครูสังคมศึกษาโรงเรียนฝางชนูปถัมภ์ จังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้แหล่งเรียนรู้ชุมชนเมืองฝางในการจัดการเรียนการสอนของครูสังคมศึกษา โรงเรียนฝางชนูปถัมภ์ จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มเป้าหมายเป็นประชากรครู ที่สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนฝางชนูปถัมภ์ จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 9 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง การใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนเมืองฝาง 3 ด้าน จำนวน 1 ฉบับ, การจัดสนทนากลุ่ม เกี่ยวกับ แหล่งเรียนรู้ประเภททรัพยากรธรรมชาติ แหล่งเรียนรู้ประเภทสังคมและวัฒนธรรม และแหล่งเรียนรู้ประเภทสถานที่ และองค์กรในชุมชน วิเคราะห์ข้อมูลด้วย ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า ครูสังคมศึกษาส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 46 ปี ขึ้นไป มีการศึกษาระดับปริญญาตรี ส่วนใหญ่จบทางด้านสาขาวิชาสังคมศึกษา ส่วนมาก มีประสบการณ์การสอน 15 ปีขึ้นไป ซึ่งเมื่อพิจารณาผลการศึกษา ระดับการใช้แหล่งเรียนรู้ชุมชนเมืองฝางของครูสังคมศึกษา โรงเรียนฝางชนูปถัมภ์ จังหวัดเชียงใหม่ ในภาพรวมพบว่า มีการใช้อยู่ในระดับปานกลาง โดยค่าเฉลี่ยโดยรวม 2.15 และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 2.08 เมื่อพิจารณาแหล่งเรียนรู้แต่ละประเภท พบว่า แหล่งวิทยาการเรียนรู้ประเภทสังคมและวัฒนธรรม สถานที่เป็นแหล่งเรียนรู้ มีการใช้อยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยโดยรวม 2.54 สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ที่ 1 มาตรฐาน ส 1.2 มากที่สุด มีการนำไปใช้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนในรูปแบบการทำรายงานและโครงงาน ในระดับมากที่สุด รองลงมาคือ แหล่งเรียนรู้ประเภททรัพยากรธรรมชาติ มีค่าเฉลี่ยโดยรวม 2.18 สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ที่ 5 มาตรฐาน ส 5.2 มากที่สุดมีการนำไปใช้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านการใช้วีดีทัศน์และรูปภาพ ในระดับมากที่สุดและแหล่งเรียนรู้ประเภทสถานที่และองค์กรในชุมชน มีค่าเฉลี่ยโดยรวม 1.74 สอดคล้องกับสาระการเรียนรู้ที่ 2 มาตรฐาน ส 2.1 มากที่สุด มีการนำไปใช้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนในรูปแบบการทำรายงานและโครงงาน ในระดับมากที่สุด ปัญหาและข้อเสนอแนะจากการสนทนากลุ่มการใช้แหล่งเรียนรู้ชุมชนเมืองฝางของครูสังคมศึกษา โรงเรียนฝางชนูปถัมภ์ จังหวัดเชียงใหม่ มีดังนี้ โรงเรียนมีปัญหา คือ ปัญหาการใช้แหล่งเรียนรู้เกิดจากขาดการวางแผนการใช้แหล่งเรียนรู้ การประสานงาน งบประมาณมีจำกัด ความหลากหลายทางด้านวัฒนธรรมของนักเรียน และข้อจำกัดในข้อมูลเชิงลึกของแหล่งเรียนรู้ทางด้านสังคมและวัฒนธรรม ข้อเสนอแนะในการใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนเมืองฝางทั้ง 3 ประเภท คือ ควรให้ความสำคัญของการนำแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้มากขึ้น ควรมีการวางแผนการใช้แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นในชุมและการเสนอโครงการใช้ต่อผู้บริหารหรือการติดต่อประสานงานกับแหล่งเรียนรู้ในชุมชนล่วงหน้าเพื่อไม่ให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนเมืองฝาง ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบปัญหาและอุปสรรคของการใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชนควรมีการวางแผนการดำเนินงาน มีการนิเทศติดตามผลการใช้แหล่งเรียนรู้ และปรับปรุงแหล่งเรียนรู้โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องen_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)53.86 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract223.33 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS3.31 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.