Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39801
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดวงฤดี ลาศุขะ-
dc.contributor.advisorเดชา ทำดี-
dc.contributor.authorกาญจนา ใจดีen_US
dc.date.accessioned2016-12-12T13:30:26Z-
dc.date.available2016-12-12T13:30:26Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39801-
dc.description.abstractChemotherapy extravasation of chemotherapyas a complication of chemotherapy that causes harm to the elderly who receive them. Prevention is the way to reduce the incidence of extravasation. This operational study aimed to evaluate the effectiveness of implementation of best practice guidelines (BPGs) for chemotherapy extravasation prevention among elderly with cancer in the, Female Surgical Ward of, Lampang Hospital between March and May 2014. The subjects consisted 20 registered nurses and 40 elderly with cancer receiving chemotherapy. The instruments used in this study was the Best Practice Guidelines for Chemotherapy Extravasation Prevention, developed by Janmano, et.al (2009). The effectiveness of the Best Practice Guidelines was evaluated based on clinical outcomes which included incidence of chemotherapy extravasation, satisfaction of nurses with best practice guidelines implementation and satisfaction of elderly with care provided based on the guidelines. Data were analyzed using descriptive statistics and Fisher exact probability test. The results of this study revealed that: 1. There was no incidence of chemotherapy extravasation in either the non-Implementation group and BPGs implementation group. 2. All nurses had a high level of satisfaction with the implementation of the BPGs. 3. All elderly patients who received service based on the BPGs had a high level of satisfaction. Study findings demonstrate effectiveness of the Best Practice Guidelines Implementation for Chemotherapy Extravasation Prevention among elderly with cancer. Therefore, registered nurses should be encouraged to use the BPGs for improving the quality of care in elderly with cancer who receive chemotherapy.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศen_US
dc.subjectการรั่วซึมen_US
dc.subjectยาเคมีบำบัดen_US
dc.subjectผู้สูงอายุen_US
dc.subjectโรคมะเร็งen_US
dc.titleประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศสำหรับการป้องกันการรั่วซึมของยาเคมีบำบัดในผู้สูงอายุที่เป็นโรคมะเร็ง หอผู้ป่วยศัลยกรรมหญิง โรงพยาบาลลำปางen_US
dc.title.alternativeEffectiveness of best practice guidelines implementation for chemotherapy extravasation prevention among elderly with cancer, female surgical ward, Lampang Hospitalen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.nlmcW 4-
thailis.controlvocab.meshNeoplasms -- drug therapy-
thailis.controlvocab.meshCancer -- chemotherapy-
thailis.controlvocab.meshAging-
thailis.manuscript.callnumberW 4 ก222ป 2557-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการรั่วซึมของยา เป็นภาวะแทรกซ้อนที่ก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้สูงอายุที่ได้รับยาเคมีบำบัดการป้องกันเป็นวิธีการที่จะช่วยลดอุบัติการณ์การเกิดการรั่วซึม การศึกษาเชิงปฏิบัติการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศสำหรับการป้องกันการรั่วซึมของยาเคมีบำบัดในผู้สูงอายุที่เป็นโรคมะเร็ง หอผู้ป่วยศัลยกรรมหญิง โรงพยาบาลลำปางระหว่างเดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2557กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 20 คนและผู้สูงอายุที่เป็นโรคมะเร็งที่ได้รับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัดจำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วยแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศสำหรับการป้องกันการรั่วซึมของยาเคมีบำบัดในผู้สูงอายุที่เป็นโรคมะเร็งของโสภา จันมะโนและคณะ(2552) การประเมินผลลัพธ์ของการใช้แนวแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศประกอบด้วยอุบัติการณ์การเกิดภาวะรั่วซึมของยาเคมีบำบัดในผู้สูงอายุที่เป็นโรคมะเร็งความพึงพอใจของพยาบาลผู้ดูแลต่อการใช้แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ และความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่เป็นโรคมะเร็งต่อการได้รับการดูแลตามแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนาและสถิติทดสอบฟิชเชอร์ ผลการศึกษาพบว่า 1. ไม่เกิดอุบัติการณ์การเกิดภาวะรั่วซึมของยาเคมีบำบัดในผู้สูงอายุที่เป็นโรคมะเร็งในกลุ่มที่ ไม่ใช้แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศและกลุ่มที่ใช้แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศสำหรับการป้องกันการรั่วซึมของยาเคมีบำบัด 2. ความพึงพอใจของพยาบาลผู้ดูแลต่อการใช้แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศอยู่ในระดับมาก 3.ความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่เป็นโรคมะเร็งต่อการได้รับการดูแลตามแนวปฏิบัติที่เป็น เลิศสำหรับการป้องกันการรั่วซึมของยาเคมีบำบัดอยู่ในระดับมาก ผลการศึกษาครั้งนี้แสดงถึงประสิทธิผลการใช้แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศสำหรับการป้องกันการรั่วซึมของยาเคมีบำบัดในผู้สูงอายุที่เป็นโรคมะเร็งดังนั้นพยาบาลควรนำแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศนี้ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยสูงอายุที่เป็นโรคมะเร็งที่ได้รับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัดต่อไปen_US
Appears in Collections:NURSE: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdf ABSTRACT163.66 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdfAPPENDIX665.71 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1221.33 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2250.08 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3231.52 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4310.56 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdf CHAPTER 5163.6 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdfCONTENT147.99 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
COVER.pdfCOVER838.36 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdfREFERENCE225.3 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.