Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39714
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรสิริ สืบพงษ์สังข์-
dc.contributor.advisorกมล งามสมสุข-
dc.contributor.authorจิราภรณ์ ก้อนสุรินทร์en_US
dc.date.accessioned2016-12-08T09:09:12Z-
dc.date.available2016-12-08T09:09:12Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39714-
dc.description.abstractThis study aimed to determine the preference of carrot consumers toward multifunctional agriculture by assessing the willingness to pay (WTP) for production system attribute and trading attribute of multifunctional carrot production using Choice Experiment Method. Primary data for this study were gathered from structured interviews with 400 respondents in urban and rural of Chiang Mai province. The results for the consumers’ willingness to pay for modifying conventional carrot production toward a multifunctional agricultural production system showed that the consumers are willingness to pay for organic production in combination with agro-biodiversity conservation. The willingness to pay for this attribute is equal to the value of 39.92 baht per kilogram. The second ranked attribute is Good Agricultural Practice (GAP) system the value of WTP at 28.2 baht per kilogram. Organic production system comes in the third place with value of WTP at 27.08 baht per kilogram. The least favored attribute is GAP with agro-biodiversity conservation with the value of WTP at 10.38 baht per kilogram. Multifunctional agriculture in the sense of trade was not significantly recognized by consumers. Socio-economic factors including age, sex, education, monthly household income per month, number of elderly living in the household, knowledge on fair-trade and attitude toward organic production system had positively determine the willingness to pay for multifunctional agriculture production system except age. The results showed that most consumers willing to promote the concept of agricultural multifunctionality and develop diverse and resilient rural communities in support of sustainable agricultural development.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectความพึงพอใจen_US
dc.subjectผู้บริโภคen_US
dc.subjectแครอทen_US
dc.titleการประเมินความพึงพอใจของผู้บริโภคต่อการผลิตแครอทเชิงพหุภารกิจในจังหวัดเชียงใหม่โดยใช้วิธีการทดลองทางเลือกen_US
dc.title.alternativeAssessing consumers'preferences for multifunctional carrot production in Chiang Mai Province using choice experiment methoden_US
dc.typeThesis
thailis.classification.ddc630.95936-
thailis.controlvocab.thashเกษตรที่สูง -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashเกษตรกรรม -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashการพัฒนาชุมชน -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashการเกษตรเชิงพหุภารกิจ-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 630.95936 จ372ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อทราบความพึงพอใจของผู้บริโภคแครอทต่อระบบการเกษตรเชิงพหุภารกิจในจังหวัดเชียงใหม่ โดยสะท้อนในลักษณะความเต็มใจจ่ายเพื่อให้มีการปรับเปลี่ยนระบบการผลิตทางการเกษตรจากการผลิตที่มีการใช้สารเคมีไปสู่การเกษตรเชิงพหุภารกิจโดยใช้วิธีการทดลองทางเลือกและกำหนดคุณลักษณะของการเกษตรเชิงพหุภารกิจที่จะประเมินระดับความพึงพอใจใน 2 คุณลักษณะที่ประกอบด้วย คุณลักษณะด้านระบบการผลิตทางการเกษตร และคุณลักษณะด้านระบบการค้า ทั้งนี้เก็บรวบรวมข้อมูลจากการผู้บริโภคตัวอย่างในจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 400 ตัวอย่าง ผลการศึกษาพบว่า ความพึงพอใจของผู้บริโภคตัวอย่างต่อการปรับเปลี่ยนไปสู่การเกษตรเชิงพหุภารกิจในมุมมองของระบบการผลิตนั้น ผู้บริโภคให้ความพึงพอใจแก่ระบบการผลิตแบบเกษตรอินทรีย์และอนุรักษ์พันธุ์พืชและสัตว์ที่เป็นประโยชน์ต่อระบบนิเวศน์เกษตรซึ่งสามารถประเมินเป็นมูลค่าความเต็มใจจ่ายได้มูลค่าสูงสุดเท่ากับ 39.92 บาทต่อกิโลกรัม รองลงมาคือ ความพึงพอใจที่จะปรับเปลี่ยนไปสู่ระบบการผลิตที่ดีและเหมาะสม (GAP) ประเมินเป็นมูลค่าความเต็มใจจ่ายได้เท่ากับ 28.62 บาทต่อกิโลกรัม ความพึงพอใจที่จะปรับเปลี่ยนไปสู่ระบบการผลิตแบบเกษตรอินทรีย์ประเมินเป็นมูลค่าความเต็มใจจ่ายได้เท่ากับ 27.08 บาทต่อกิโลกรัม และความพึงพอใจที่จะการปรับเปลี่ยนไปสู่ระบบการผลิตที่ดีและเหมาะสมและอนุรักษ์พันธุ์พืชและสัตว์ที่เป็นประโยชน์ต่อระบบนิเวศน์เกษตร (GBIO) ประเมินเป็นมูลค่าความเต็มใจจ่ายได้เท่ากับ 10.38 บาทต่อกิโลกรัม ส่วนมุมมองของเกษตรเชิงพหุภารกิจด้านการค้า พบว่า ผู้บริโภคไม่ได้ให้ความสำคัญอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สำหรับด้านปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมของผู้บริโภคตัวอย่างที่มีผลต่อความพึงพอใจเพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนไปสู่เกษตรเชิงพหุภารกิจ พบว่า เพศ ระดับการศึกษา รายได้เฉลี่ยต่อเดือน จำนวนสมาชิกที่เป็นคนชรา การให้ความสำคัญเกี่ยวกับความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการค้าที่เป็นธรรม และทัศนคติที่มีต่อสินค้าเกษตรอินทรีย์ ซึ่งตัวแปรเหล่านี้มีผลในเชิงบวกต่อการปรับเปลี่ยนระบบการเกษตรเข้าสู่การเกษตรเชิงพหุภารกิจ ยกเว้นเรื่องของอายุ จากผลการศึกษาเห็นได้ว่าผู้บริโภคให้ความพึงพอใจและมีความเต็มใจจ่ายต่อเกษตรเชิงพหุภารกิจในส่วนของระบบการผลิตมาก ซึ่งเป็นแนวโน้มที่ดีในการพัฒนาการทำการเกษตรเชิงพหุภารกิจต่อไป และเป็นประโยชน์ต่อทั้งเกษตรกรผู้ผลิตและผู้บริโภค ตลอดจนสามารถช่วยลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อมในระยะยาวได้เป็นอย่างดี ก่อให้เกิดการพัฒนาทางด้านการเกษตรได้อย่างยั่งยืนen_US
Appears in Collections:AGRI: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT177.68 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdfAPPENDIX637.09 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1291.45 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2556.37 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3589.49 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4429.55 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5412.66 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 6.pdfCHAPTER 6246.55 kBAdobe PDFView/Open
CONTENT.pdfCONTENT263.88 kBAdobe PDFView/Open
COVER.pdfCOVER672.72 kBAdobe PDFView/Open
REFERENCE.pdfREFERENCE334.3 kBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.