Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39704
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาสกร เตวิชพงศ์-
dc.contributor.authorสุชาดา รัฏฐาภิปาลโนบายen_US
dc.date.accessioned2016-12-08T08:26:02Z-
dc.date.available2016-12-08T08:26:02Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39704-
dc.description.abstractThe purpose of this research was to investigate the effects of imagery training and muscle relaxation on the accuracy of free-throw basketball of male bachelor-degree players. The samples in the research included 20 basketball players of Chiang Mai Rajabhat University Basketball Club, aged 19-22 years, studying in Academic Year 2013. The samples were divided into 2 groups: (1) the experimental group with imagery training and muscle relaxation together with common training and (2) the control group with only common training, 10 persons in each group. Times for imagery training and muscle relaxation of the experimental group were 3 days a week for 8 weeks. The tools used in the experiment were imagery training and muscle relaxation programs. The accuracy of free-throw basketball of both groups of samples was tested at pre-test and post-test at the 8th week and then the results were statistical analyzed to determine difference using t-test. The results revealed that for the experimental group with imagery training and muscle relaxation together with common training, the mean scores of the test of accuracy of free-throw basketball between pre-test and post-test were statistically significant difference at 0.1. For the control group with only common training, the mean scores of the test of accuracy of free-throw basketball between pre-test and post-test were not statistically significant difference. It could be concluded that the imagery training and muscle relaxation had a better impact on the improvement of accuracy of free-throw basketball skill than having only common training.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectจินตภาพen_US
dc.subjectการผ่อนคลายen_US
dc.subjectกล้ามเนื้อen_US
dc.subjectการยิงประตูโทษen_US
dc.subjectบาสเกตบอลen_US
dc.subjectนักกีฬาชายen_US
dc.titleผลของการฝึกจินตภาพและการผ่อนคลายกล้ามเนื้อต่อความแม่นยำในการยิงประตูโทษบาสเกตบอล ของนักกีฬาชายระดับปริญญาตรีen_US
dc.title.alternativeThe Effect of imagery and muscle relaxation training on accuracy of free – throw basketball with the university basketball playersen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc796.323-
thailis.controlvocab.thashบาสเกตบอล-
thailis.controlvocab.thashบาสเกตบอล -- การฝึก-
thailis.manuscript.callnumberว 796.323 ส422ผ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาผลของการฝึกจินตภาพและการผ่อนคลายกล้ามเนื้อต่อความแม่นยำในการยิงประตูโทษบาสเกตบอลของนักกีฬาชายระดับปริญญาตรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักกีฬาบาสเกตบอลของชมรมบาสเกตบอล มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ที่มีอายุระหว่าง 19-22 ปี ที่กำลังศึกษาในปีการศึกษา 2556 จำนวน 20 คน โดยแบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ (1) กลุ่มทดลองคือ กลุ่มที่ได้รับการฝึกจินตภาพและการผ่อนคลายกล้ามเนื้อควบคู่กับการฝึกบาสเกตบอลทั่วไป จำนวน 10 คน และ (2) กลุ่มควบคุมที่ได้รับการฝึกบาสเกตบอลทั่วไปเพียงอย่างเดียว จำนวน 10 คน ระยะเวลาที่ใช้ในการฝึกจินตภาพและการผ่อนคลายกล้ามเนื้อของกลุ่มทดลอง สัปดาห์ละ 3 วัน เป็นเวลา 8 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองได้แก่ โปรแกรมการฝึกจินตภาพและการผ่อนคลายกล้ามเนื้อ ทำการทดสอบความแม่นยำในการยิงประตูโทษบาสเกตบอลของกลุ่มตัวอย่างทั้งสองกลุ่ม 2 ระยะด้วยกันคือ (1) ก่อนเริ่มการทดลอง (Pre-test) (2) ภายหลังการฝึกในสัปดาห์ที่ 8 (Post-test) และนำผลที่ ได้มาวิเคราะห์หาค่าความแตกต่างโดยใช้สถิติค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มทดลอง ที่ได้รับการฝึกจินตภาพและการผ่อนคลายกล้ามเนื้อควบคู่กับการฝึกบาสเกตบอลทั่วไป มีค่าเฉลี่ยของคะแนนการทดสอบความแม่นยำในการยิงประตูโทษบาสเกตบอล ก่อนการฝึกและภายหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ส่วนกลุ่มควบคุม ที่ได้รับการฝึกบาสเกตบอลทั่วไปเพียงอย่างเดียวมีค่าเฉลี่ยของคะแนนการทดสอบความแม่นยำในการยิงประตูโทษบาสเกตบอล ก่อนการฝึกและภายหลังการฝึกสัปดาห์ที่ 8 ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ พอสรุปได้ว่า การฝึกจินตภาพและการผ่อนคลายกล้ามเนื้อมีผลทำให้นักกีฬามีการพัฒนาทักษะการยิงประตูโทษบาสเกตบอลได้ดีขึ้นกว่าการฝึกบาสเกตบอลทั่วไปเพียงอย่างเดียวen_US
Appears in Collections:GRAD-Health Sciences: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT223.98 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdf APPENDIX1.15 MBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1235.79 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 2.pdf CHAPTER 2657.51 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3425.11 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4330.77 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5238.28 kBAdobe PDFView/Open
CONTENT.pdf CONTENT224.93 kBAdobe PDFView/Open
COVER.pdfCOVER569.88 kBAdobe PDFView/Open
REFERENCE.pdf REFERENCE258.74 kBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.