Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39633
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร.รัชนีกร ทองสุขดี-
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร.นันทณี เสถียรศักดิ์พงศ์-
dc.contributor.authorวรวรรณ ชัยยาen_US
dc.date.accessioned2016-10-12T09:21:41Z-
dc.date.available2016-10-12T09:21:41Z-
dc.date.issued2015-08-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39633-
dc.description.abstractThis independent study aimed at promoting self-esteem of children with learning disability by using Trotzer’s technique. The sample of this study was a case of male student, Prathom 5, Ban Pang Sa School, Chiang Rai Province. Tools used in the study were 10 group activity plans according to Trotzer’s technique, behavior record form, and self-esteem inventory school form divided into four domains: self, society and friend, family, and education. The case study was evaluated by using self-esteem inventory school from before and after participating on group activities. Then, data was analyzed by using descriptive statistics. The results were concluded as follows: 1. Trotzer’s group activity plans for improving self-esteem had 0.95 total index of congruence (IOC) between activity plan and content. Therefore, Trotzer’s group activity plans were of quality and reliable. 2. Results showed that the case had higher self-esteem after participating 10 Trotzer’s group activities.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการส่งเสริมการเห็นคุณค่าในตนเองของเด็กที่มีความบกพร่อง ทางการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคโทรทเซอร์en_US
dc.title.alternativePromoting Self-esteem of Children with Learning Disability by Using Trotzer’s Techniqueen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการเห็นคุณค่าในตนเอง ของเด็กที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ โดยใช้เทคนิค Trotzer กรณีศึกษาเป็นนักเรียนชาย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านปางสา จังหวัดเชียงราย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ประกอบด้วย แผนกิจกรรมกลุ่มตามแนวเทคนิค Trotzer จำนวน 10 แผน แบบสังเกตพฤติกรรมและแบบวัดความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเอง ประกอบด้วย 4 ด้าน คือ ด้านตนเอง ด้านสังคมและกลุ่มเพื่อน ด้านครอบครัว และด้านการเรียน ดำเนินการศึกษาโดยให้กรณีศึกษาทำแบบวัดความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเองก่อน และหลังการทำกิจกรรมกลุ่ม นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงบรรยาย ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ 1. แผนกิจกรรมกลุ่มตามแนวเทคนิค Trotzer เพื่อพัฒนาการเห็นคุณค่าในตนเอง มีค่าดัชนีความสอดคล้องรวมระหว่างแผนกิจกรรมกับเนื้อหา (IOC) เท่ากับ 0.95 ทำให้แผนกิจกรรมกลุ่มตามแนวเทคนิค Trotzer มีคุณภาพที่น่าเชื่อถือได้ 2. ผลการศึกษาพบว่า กรณีศึกษามีคะแนนความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเองสูงขึ้น หลังเข้าร่วม 10 กิจกรรมกลุ่มตามแนวเทคนิค Trotzer คิดเป็นร้อยละ 24.14en_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)181.11 kBMicrosoft Word XMLView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract262.57 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
FULL.pdfFull IS3.05 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.