Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39514
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร.จารุณี มณีกุล-
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร.ชรินทร์ มั่งคั่ง-
dc.contributor.authorภัทราภรณ์ วัฒนฤกษ์ปรีชาen_US
dc.date.accessioned2016-08-23T09:36:00Z-
dc.date.available2016-08-23T09:36:00Z-
dc.date.issued2015-06-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39514-
dc.description.abstractThe objectives of this study were to construct supplementary book to promote Mae Sot community culture for Chumponkiri Municipal School Students, Tak Province to evaluate the participatory supplementary book for supporting the learning about Mae Sot community culture, and to study about the opinions of students and guardians in the participation in supplementary book for supporting the learning about Mae Sot community culture for Chumponkiri Municipal School Students, Tak Province. The Sample consisted of 5 quality evaluation professors. The sample consisted 1 were construct supplementary book to promote Mae Sot community culture for Chumponkiri Municipal School Students, Tak Province, 19 persons, students, student guardians, administrators, teachers, head of villages, philosophies and educational supervisors. The sample consisted 2 were opinion, conversation for to evaluate the participatory supplementary to perfect book, 15 persons, students, student and educational supervisors. The set of questionnaire was used to collect the data; there were requirement, interview, evaluation, opinion, and focus group discussion of Constructing of Participatory Supplementary Books to Promote Learning on Mae Sot Community Culture for Chumponkiri Municipal School Students, Tak Province. The collected data were analyzed through the means, standard deviation, and focus group discussion analysis. The research results revealed that: 1. There were 5 processes for construction of participatory supplementary books to promote learning on Mae Sot Community culture for Chumponkiri Municipal School students, Tak Province; 1) study about requirement and data based in creating the supplementary books, 2) create the supplementary book, 3) evaluate the book quality, 4) aske some opinions, and 5) create the focus group. 2. The results of quality evaluation for construction of participatory supplementary books to promote learning on Mae Sot Community culture for Chumponkiri Municipal School students, Tak Province by professors were rated at a high level. 3. The students and guardians opinions in construction of participatory supplementary books to promote learning on Mae Sot Community culture for Chumponkiri Municipal School students, Tak Province were rated at a high level.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการสร้างหนังสือเสริมประสบการณ์แบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริม การเรียนรู้ เรื่องวัฒนธรรมชุมชนแม่สอด สำหรับนักเรียน โรงเรียนเทศบาลวัดชุมพลคีรี จังหวัดตากen_US
dc.title.alternativeConstruction of Participatory Supplementary Books to Promote Learning on Mae Sot Community Culture for Chumponkiri Municipal School Students, Tak Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างหนังสือเสริมประสบการณ์แบบมีส่วนร่วม เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ เพื่อประเมินคุณภาพหนังสือเสริมประสบการณ์แบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ และเพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนและผู้ปกครองที่มีต่อหนังสือเสริมประสบการณ์แบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ เรื่องวัฒนธรรมชุมชนแม่สอด สำหรับนักเรียนโรงเรียนเทศบาลวัดชุมพลคีรี จังหวัดตาก ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาคือ ผู้เชี่ยวชาญประเมินคุณภาพหนังสือเสริมประสบการณ์แบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ เรื่องวัฒนธรรมชุมชน แม่สอด สำหรับนักเรียนโรงเรียนเทศบาลวัดชุมพลคีรี จังหวัดตาก จำนวน 5 คน กลุ่มตัวอย่างที่ 1 ได้แก่ นักเรียน ผู้ปกครองนักเรียน ผู้บริหารสถานศึกษา ครู ผู้นำชุมชน ปราชญ์ท้องถิ่น และศึกษานิเทศก์ จำนวน 19 คน และกลุ่มตัวอย่างที่ 2 เป็นผู้ให้ความคิดเห็น ร่วมสนทนากลุ่มเพื่อประเมินหนังสือเสริมประสบการณ์ให้ได้หนังสือที่สมบูรณ์ จำนวน 15 คน เครื่องมือในการศึกษาคือ แบบสัมภาษณ์ความต้องการในการสร้างหนังสือเสริมประสบการณ์แบบมีส่วนร่วม หนังสือเสริมประสบการณ์แบบมีส่วนร่วม แบบประเมินคุณภาพของหนังสือเสริมประสบการณ์แบบมี ส่วนร่วม แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนและผู้ปกครองนักเรียน และแบบบันทึกประเด็นการสนทนากลุ่มการสร้างหนังสือเสริมประสบการณ์แบบมีส่วนร่วม วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการตีความสร้างข้อสรุปจากข้อมูลและสถานการณ์จากการสัมภาษณ์ หาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์จากแบบบันทึกประเด็นการสนทนากลุ่ม ผลการศึกษาปรากฏดังนี้คือ 1. การสร้างหนังสือเสริมประสบการณ์แบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ เรื่องวัฒนธรรมชุมชนแม่สอด สำหรับนักเรียนโรงเรียนเทศบาลวัดชุมพลคีรี จังหวัดตาก มีกระบวนการดังนี้คือ 1) การศึกษาความต้องการและข้อมูลพื้นฐานในการสร้างหนังสือ 2) สร้างหนังสือเสริมประสบการณ์ 3) ประเมินคุณภาพหนังสือ 4) การสอบถามความคิดเห็น 5) การจัดสนทนากลุ่ม 2. ผลการประเมินคุณภาพหนังสือเสริมประสบการณ์แบบมีส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ เรื่อง วัฒนธรรมชุมชนแม่สอด สำหรับนักเรียนโรงเรียนเทศบาลวัดชุมพลคีรี จังหวัดตากโดยผู้เชี่ยวชาญอยู่ในระดับมาก 3. ความคิดเห็นของนักเรียนและผู้ปกครองที่มีต่อหนังสือเสริมประสบการณ์แบบมี ส่วนร่วมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ เรื่องวัฒนธรรมชุมชนแม่สอด สำหรับนักเรียนโรงเรียนเทศบาล วัดชุมพลคีรี จังหวัดตากอยู่ในระดับมากen_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)177.06 kBMicrosoft Word XMLView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract247.75 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
FULL.pdfFull IS6.93 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.