Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39512
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอ.ดร.รสริน โอสถานันต์กุล-
dc.contributor.advisorรศ.พรทิพย์ เธียรธีรวิทย์-
dc.contributor.authorอัญตินันท์ นันทพันธ์en_US
dc.date.accessioned2016-08-23T09:34:39Z-
dc.date.available2016-08-23T09:34:39Z-
dc.date.issued2015-07-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39512-
dc.description.abstractThis is a study on the efficiency of value added tax collection of the Regional Revenue Office 8 during 2003 – 2014 analyzing the ratio of vat collected. Multiple regression analysis was used to estimate tax capacity. It was assumed that value added tax capacity of each province is dependent on its GPP comprising income from industrial sector, service sector, sales sector, and last year’s value-added collection. After that, the estimated tax capacity figures were used to calculate tax effort indices. These indices will show how efficient of each revenue department in collecting VAT. 25533352529840จ 00จ The results of the study showed that Lamphun province has the highest tax ratio, and Chiang Mai-2 has the lowest tax ratio. The tax capacity of the Regional Revenue Office 8 was determined by the proportion of the income sectors in the GPP. Tax capacity was found to be positively related to income of industrial sector and last year’s value added tax collection. The provinces of the Regional Office 8 with high capacity were Lamphun, Chiangmai-1, and Lampang. The provinces with low capacity were Phrae, Chiang Rai, Nan, Payao, Maehongson, and Chiang Mai-2. The effective tax collection was highest in Lamphun province while the lowest was Chiang Mai-2. The Revenue Department Office of Chiang Mai-2 should increase tax collection in order to raise government revenue.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleประสิทธิภาพการจัดเก็บรายได้ภาษีมูลค่าเพิ่มของสำนักงานสรรพากรภาค 8en_US
dc.title.alternativeThe Efficiency of Value Added Tax Collection of Regional Revenue Office 8en_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพในการจัดเก็บรายได้ภาษีมูลค่าเพิ่มของสำนักงานสรรพากรภาค 8 ระหว่างปี 2546 - 2556 โดยวิเคราะห์อัตราส่วนผลจัดเก็บรายได้ภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บได้จริง วิเคราะห์หาค่าความสามารถในการเสียภาษีด้วยวิธีสมการถดถอยพหุคูณ โดยกำหนดสมการให้ความสามารถในการเสียภาษีของแต่ละจังหวัดขึ้นอยู่กับมูลค่าผลิตภัณฑ์จังหวัดในสาขาอุตสาหกรรม สาขาการบริการ สาขาการขาย และผลจัดเก็บรายได้ภาษีมูลค่าเพิ่มปีที่ผ่านมา และหาค่าดัชนีความพยายามในการจัดเก็บภาษี ซึ่งดัชนีที่ได้จะชี้ว่าสำนักงานสรรพากรพื้นที่แต่ละแห่ง มีประสิทธิภาพในการจัดเก็บรายได้ภาษีมูลค่าเพิ่มอย่างไร 25741282690495ง 00ง ผลการศึกษาพบว่า จังหวัดที่มีอัตราส่วนผลจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บได้จริงสูงที่สุด คือ จังหวัดลำพูน และจังหวัดที่มีอัตราส่วนผลจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มที่จัดเก็บได้จริงต่ำที่สุด คือ จังหวัดเชียงใหม่2 ค่าความสามารถในการเสียภาษีของสำนักงานสรรพากรภาค 8 ขึ้นอยู่กับมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดภาคอุตสาหกรรม และผลจัดเก็บรายได้ภาษีมูลค่าเพิ่มปีที่ผ่านมา โดยมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน จังหวัดที่มีความสามารถในการเสียภาษีสูง คือ จังหวัดลำพูน จังหวัดเชียงใหม่1 และจังหวัดลำปาง ส่วนจังหวัดที่มีความสามารถในการเสียภาษีต่ำ คือ จังหวัดแพร่ จังหวัดเชียงราย จังหวัดน่าน จังหวัดพะเยา จังหวัดแม่ฮ่องสอน และจังหวัดเชียงใหม่2 จังหวัดที่มีประสิทธิภาพในการจัดเก็บภาษีสูงที่สุด คือ จังหวัดลำพูน จังหวัดที่มีประสิทธิภาพในการจัดเก็บรายได้ภาษีต่ำที่สุด คือ จังหวัดเชียงใหม่2 ซึ่งจะต้องมีการปรับปรุงเพื่อนำไปสู่ผลการจัดเก็บภาษีที่เพิ่มมากขึ้นen_US
Appears in Collections:ECON: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)183.51 kBMicrosoft Word XMLView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract174.12 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS2.82 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.