Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39463
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอ.ดร.วริษา วิสิทธิพานิช-
dc.contributor.authorกฤษดา บัวบานen_US
dc.date.accessioned2016-07-27T09:07:45Z-
dc.date.available2016-07-27T09:07:45Z-
dc.date.issued2015-06-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39463-
dc.description.abstractIn the present, cargo business, particularly, land cargo transportation is the main choice for transferring goods from manufacturer to customer or even consignment between persons. There is an unavoidable problem in running business that is; damaged goods during shipping. In the case study of the company, they have managed these damaged goods by storing and preceding the procedure. This research was to study the problem and the cause of the management. It found that the process of goods placement was in disorder, the process of working was unclear and goods were classified vaguely. Those factors impacted to a long time taking in searching goods. Therefore, the researcher had presented the way to improve the process of working in damaged cargo terminal. Not only to develop the management of damaged goods system to achieve Key Performance Indicator, KPI, but to shorten the time of finding goods in warehouse also. The guiding principles were brought to reduce waste and to improve the working process which would be able to minimize distance and time in the process from 1650 maters of distance and 945 minutes of time to 700 maters of distance and 519 minutes of time. Moreover, the theory of ABC analysis and the principle of plant layout were used to allocate space including visual control. The result of improvement could help storage goods orderly and capable to reduce time of searching goods, from 77.4 minutes to 45.3 minutes. This study was able to increase the efficiency of the performance and applied the implementation planing of this research to set the standard for working in the future.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการปรับปรุงกระบวนการทำงานในคลังสินค้าเสียหายen_US
dc.title.alternativeProcess Improvement in Damaged Inventory Warehouseen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractปัจจุบันธุรกิจขนส่งสินค้าโดยเฉพาะการขนส่งทางบกเป็นทางเลือกส่วนใหญ่ในการขนส่งสินค้าจากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภค หรือแม้กระทั่งการขนส่งสิ่งของระหว่างบุคคล ซึ่งปัญหาหนึ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ของการดำเนินธุรกิจ คือสินค้าที่เสียหายระหว่างการจัดส่ง ซึ่งทางบริษัทกรณีศึกษาได้มีการบริหารจัดการกับสินค้าเสียหายเหล่านี้ด้วยการจัดเก็บและดำเนินการตามกระบวนการ โดยการค้นคว้าอิสระในครั้งนี้ได้ทำการศึกษาปัญหาและสาเหตุของการบริหารจัดการซึ่งพบว่าเกิดจากสาเหตุด้านกระบวนการในส่วนของการจัดวางสินค้าที่ไม่เป็นระเบียบ การทำงานไม่เป็นขั้นตอนที่ชัดเจน และสินค้าไม่ถูกจำแนกประเภทอย่างชัดเจนทำให้ใช้เวลาในการค้นหาสินค้านาน ดังนั้นผู้ศึกษาจึงได้เสนอแนวทางการปรับปรุงกระบวนการทำงานในคลังสินค้าเสียหายเพื่อพัฒนาระบบการจัดการคลังสินค้าเสียหาย ให้ได้ค่าเป้าหมาย (Key Performance Indicator, KPI ) ตลอดจนถึงลดระยะเวลาในการค้นหาสินค้าภายในคลัง โดยนำหลักการการลดความสูญเปล่า (ECRS) เข้ามาปรับปรุงด้านขั้นตอนการทำงาน ซึ่งทำให้สามารถลดระยะทางการเคลื่อนที่ในกระบวนการทำงานจาก 1650 เมตร เหลือ 700 เมตร และลดเวลาในกระบวนการทำงานจาก 945 นาที เหลือ 579.3 นาที นอกจากนั้นยังได้นำทฤษฏีการแบ่งหมวดหมู่สินค้า (ABC Analysis) อีกทั้งหลักการวางผังสินค้า (Plant Layout) เข้ามาจัดสรรพื้นที่ รวมทั้งการใช้ (Visual Control) เพื่อเป็นการควบคุมทางสายตา โดยผลการปรับปรุงทำให้สามารถจัดเก็บสินค้าได้อย่างเป็นระเบียบ และสามารถลดระยะเวลาที่พนักงานต้องค้นหาได้ จาก 77.4 นาที เหลือ 45.3 นาที ซึ่งในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ทำให้สามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานและนำแผนการดำเนินงานในงานวิจัยครั้งนี้ กำหนดเป็นมาตรฐานการทำงานต่อไปen_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)174.71 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract239.69 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS4.32 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.