Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39320
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กุลวดี อภิชาติบุตร-
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร.บุญพิชชา จิตต์ภักดี-
dc.contributor.authorกฤษณา สิงห์ทองวรรณen_US
dc.date.accessioned2016-07-05T02:07:36Z-
dc.date.available2016-07-05T02:07:36Z-
dc.date.issued2558-05-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39320-
dc.description.abstractNursing handover is a method to communicate important patient information from one shift to another in order to provide continuing care. The purpose of this developmental study was to improve the quality of nursing handover in a medical ward at Chiangmai Neurological Hospital using the FOCUS-PDCA continuous quality improvement process. The development consisted of 9 steps: identifying a process that needed to be improved; organize a team that knows the problematic process; clarify current process; understand causes of variation in the process; select the process that required an improvement; plan for improvement; implement the plan; check for practice process; and maintain and continue the improvement (Deming, 1993). The study population included 10 registered nurses. The research instruments were an interview guideline and an observation checklist regarding the practice of nursing handover. Data were analyzed using descriptive statistics and content analysis. Results revealed that after using the FOCUS-PDCA process and SBAR method to improve the quality of nursing handover, registered nurses could perform more than 90 percent of nursing handover protocol. The incomplete steps were nurse who reported did not cover information in suggestion aspects; and for those who received reports, there were incomplete process in lacking of quick patient round before the handover process. Registered nurses were satisfied with the improvement of the nursing handover procedure. This study showed that quality improvement of nursing handovers using the SBAR method is effective and useful for the unit. As a result, nursing administrators can use these methods to improve the quality of nursing handovers in other units.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาคุณภาพการรับส่งเวรทางการพยาบาลในหอผู้ป่วยอายุรกรรม โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่en_US
dc.title.alternative.Quality Improvement of Nursing Handover in Medical Ward, Chiangmai Neurological Hospitalen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการรับส่งเวรทางการพยาบาล เป็นการสื่อสารข้อมูลสำคัญของผู้ป่วยจากพยาบาลเวรหนึ่งไปยังพยาบาลในเวรถัดไปเพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องการศึกษาเชิงพัฒนานี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาคุณภาพการรับส่งเวรทางการพยาบาลในหอผู้ป่วยอายุรกรรม โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่ โดยการใช้กระบวนการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่องโฟกัส พีดีซีเอ (FOCUS-PDCA) ประกอบด้วย 9 ขั้นตอนได้แก่ การค้นหากระบวนการที่ต้องการปรับปรุงการสร้างทีมงานที่รู้เกี่ยวกับกระบวนการที่เป็นปัญหาการสร้างความกระจ่างในกระบวนการที่ทำอยู่ในปัจจุบันการทำความเข้าใจสาเหตุของความแปรปรวนในกระบวนการการเลือกกระบวนการที่ต้องการปรับปรุงการวางแผนการปรับปรุงการปฏิบัติตามแผน การตรวจสอบการปฏิบัติและการดำเนินการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Deming, 1993) ประชากรในการศึกษาครั้งนี้คือ พยาบาลวิชาชีพจำนวน 10 คน เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วยแนวคำถามในการประชุมกลุ่ม และแบบสังเกตการปฏิบัติของพยาบาลตามแนวทางการรับส่งเวรทางการพยาบาล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า ภายหลังการใช้กระบวนการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง โฟกัส พีดีซีเอ และรูปแบบ SBAR ในการพัฒนาคุณภาพการรับส่งเวรทางการพยาบาลของหอผู้ป่วยอายุรกรรม โรงพยาบาลประสาทเชียงใหม่ พยาบาลวิชาชีพสามารถปฏิบัติการรับส่งเวรในทุกขั้นตอนได้ครบถ้วนมากกว่าร้อยละ 90.00 ในขั้นตอนที่ยังไม่ครบถ้วนสำหรับพยาบาลผู้ส่งเวรยังขาดการรายงานข้อเสนอแนะสำหรับเวรถัดไปและสำหรับพยาบาลผู้รับเวรยังขาดขั้นตอนการเยี่ยมผู้ป่วยทุกรายอย่างรวดเร็วก่อนรับเวร พยาบาลวิชาชีพมีความพึงพอใจต่อการพัฒนาคุณภาพการรับส่งเวร การศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า การพัฒนาคุณภาพการรับส่งเวรทางการพยาบาลร่วมกับรูปแบบการรับส่งเวรแบบ SBAR เป็นวิธีการที่มีประสิทธิผลและเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงาน ที่ผู้บริหารทางการพยาบาลสามารถนำแนวทางดังกล่าว ไปพัฒนาคุณภาพการรับส่งเวรทางการพยาบาลในหน่วยงานอื่นต่อไปen_US
Appears in Collections:NURSE: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
abstract.docxAbstract (words)171.68 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract161.25 kBAdobe PDFView/Open
full.pdfFull IS3.39 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.