Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80030
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุพิชฌาย์ ปัญญา-
dc.contributor.authorสหัสวรรษ ติยะโคตรen_US
dc.date.accessioned2024-09-06T01:27:11Z-
dc.date.available2024-09-06T01:27:11Z-
dc.date.issued2024-07-15-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/80030-
dc.description.abstractThis research aims to study and analyze the collaborative management between the government and civil sector in restoring the Mae Kha Canal in Chiang Mai Province, which is crucial for maintaining the environment and the local community's way of life. The primary objectives of this research are: (1) to study the collaborative management models between the government and civil sector in the restoration of Mae Kha Canal; and (2) to analyze the problems and obstacles faced by the civil sector in cooperating with the government in restoring Mae Kha Canal. This research employs qualitative methods, including data collection from documents, interviews with relevant stakeholders, and community opinion surveys. The main research questions are: (1) What are the collaboration models between the government and civil sector in the restoration of Mae Kha Canal? and (2) What does the civil sector face the problems and obstacles in cooperating with the government in restoring Mae Kha Canal? The research findings reveal that collaborative management between the government and the civil sector requires continuous communication and coordination. The main issues identified include a lack of clear support from the government and the community's inadequacy of resources and knowledge. Nevertheless, fostering mutual understanding and cooperation among all parties remains essential for the effective restoration of the Mae Kha Canal. Keywords: Collaborative Management, Government, Civil sector, Mae Kha Canal Restoration, Chiang Mai Province, Non-Participant Observationen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการบริหารจัดการร่วมระหว่างรัฐกับภาคพลเมืองในการแก้ไขปัญหาคลองแม่ข่า จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeCollaborative management between the state and the civil sector in solving the Mae Kha Canal problems in Chiang Mai provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashคลองแม่ข่า -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashการมีส่วนร่วมของชุมชน -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashการพัฒนาเมือง -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashคลอง -- เชียงใหม่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์การบริหารจัดการร่วมระหว่างภาครัฐและภาคพลเมืองในการฟื้นฟูสภาพคลองแม่ข่า จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งมีความสำคัญต่อการรักษาสภาพแวดล้อมและวิถีชีวิตของชุมชนท้องถิ่น วัตถุประสงค์สำคัญของการวิจัยนี้คือ (1) เพื่อศึกษารูปแบบการบริหารจัดการร่วมระหว่างภาครัฐและภาคพลเมืองในการฟื้นฟูคลองแม่ข่า และ (2) เพื่อวิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคของภาคพลเมืองในการร่วมมือกับภาครัฐในการฟื้นฟูคลองแม่ข่าการวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการเก็บข้อมูลจากเอกสาร การสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้อง และการสำรวจความคิดเห็นของชุมชน โดยมีคำถามวิจัยหลักคือ (1) รูปแบบความร่วมมือระหว่างภาครัฐกับภาคพลเมืองในการฟื้นฟูคลองแม่ข่าเป็นอย่างไร และ (2) ปัญหาและอุปสรรคของภาคพลเมืองในการร่วมมือกับภาครัฐในการฟื้นฟูคลองแม่ข่าเป็นอย่างไร ผลการวิจัยพบว่าการบริหารจัดการร่วมระหว่างภาครัฐและภาคพลเมืองมีลักษณะเป็นความร่วมมือที่ต้องอาศัยการสื่อสารและการประสานงานอย่างต่อเนื่อง ปัญหาหลักที่พบคือการขาดการสนับสนุนที่ชัดเจนจากภาครัฐและความไม่พร้อมของชุมชนในด้านทรัพยากรและความรู้ อย่างไรก็ตาม การสร้างความเข้าใจและความร่วมมือระหว่างทุกภาคส่วนยังคงเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้การฟื้นฟูคลองแม่ข่าสามารถดำเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ คำสำคัญ : การบริหารจัดการร่วม, ภาครัฐ, ภาคพลเมือง, การฟื้นฟูคลองแม่ข่า,จังหวัดเชียงใหม่,การสังเกตการณ์แบบไม่มีส่วนร่วมen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
651932060-สหัสวรรษ ติยะโคตร.pdf13.69 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.