Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79997
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมนต์นภัส มโนการณ์-
dc.contributor.advisorสุบัน พรเวียง-
dc.contributor.authorรรินรดา เดชคุณมากen_US
dc.date.accessioned2024-08-28T01:03:30Z-
dc.date.available2024-08-28T01:03:30Z-
dc.date.issued2024-06-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79997-
dc.description.abstractThis research aims to 1) Study the current and the desirable states of the teacher competency to promote executive functions of students. 2) Develop guidelines for the teacher competency to promote executive functions of students., and 3) Assess the feasibility and suitability of the guidelines for the teacher competency to promote executive functions of students in school attached to the local government organization in Chiang Mai province. Proceed with three steps according to the objective. The data providers were teachers in schools under the local government organization in Chiang Mai province in the academic year 2023, 243 participants, experts in educational administration, educational institution administration, and promoting executive functions, with a total of 9 experts, and 5 experts. The tool used were the questionnaire and the interview form. Data were analyzed by using means, standard deviations, the Priority Needs Index (PNI Modified), and Content analysis. The research findings revealed that: 1) The current state of the teacher competency to promote executive functions of students was overall at a high level, and the desirable states was overall at a highest level. The component with the highest needs was Knowledge, followed by Skills and Attributes. 2) Guidelines for the teacher competency to promote executive functions of students should address five key aspects: (1) The principle for developing the teacher competency to promote executive functions of students. (2) The objective for developing the teacher competency to promote executive functions of students in school attached to the local government organization in Chiang Mai province. (3) The process of developing the teacher competency for teachers and educational administrator as Knowledge, Skills and Attributes. (4) The success conditions., and (5) Additional suggestions. 3) The feasibility and suitability of the guidelines for the teacher competency to promote executive functions of students overall at a highest level.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleแนวทางการพัฒนาสมรรถนะครูเพื่อส่งเสริมทักษะสมองของนักเรียนในโรงเรียน สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeGuidelines for teacher competency development to promote executive functions of students in schools attached to the Local Government Organization in Chiang Mai provinceen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashครู -- สมรรถนะ-
thailis.controlvocab.thashองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashครู -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashการคิดเชิงบริหาร (ประสาทจิตวิทยา)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของสมรรถนะครูเพื่อส่งเสริมทักษะสมองของนักเรียนฯ 2) สร้างแนวทางการพัฒนาสมรรถนะครูเพื่อส่งเสริม ทักษะสมองของนักเรียนฯ และ 3) ตรวจสอบความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทาง การพัฒนาสมรรถนะครูเพื่อส่งเสริมทักษะสมองของนักเรียนในโรงเรียน สังกัดองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ ดำเนินการ 3 ขั้นตอนตามวัตถุประสงค์ กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ 1) ครูโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ ปีการศึกษา 2566 จำนวน 243 คน 2) ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการบริหารการศึกษา ด้านการบริหารสถานศึกษา และด้านการส่งเสริมทักษะสมอง รวมจำนวน 9 คน และ 3) ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ และแบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าดัชนีลำดับความสำคัญของความต้องการจำเป็น (PNI modified) และ การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบันโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก สภาพที่พึงประสงค์โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านที่มีลำดับความต้องการจำเป็นมากที่สุด คือ ด้านความรู้ รองลงมาคือ ด้านทักษะ และ ด้านคุณลักษณะ ตามลำดับ 2) แนวทางการพัฒนาสมรรถนะครูเพื่อส่งเสริมทักษะสมองของนักเรียนฯ ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ หลักการ คือ การพัฒนาสมรรถนะครูเพื่อส่งเสริมทักษะสมองของนักเรียน ในโรงเรียน วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาสมรรถนะครูเพื่อส่งเสริมทักษะสมองของนักเรียนในโรงเรียน สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเชียงใหม่ วิธีการสำหรับครูและผู้บริหารสถานศึกษา ทั้งด้านความรู้ ด้านทักษะ และด้านคุณลักษณะ เงื่อนไขความสำเร็จในการพัฒนาสมรรถนะครู เพื่อส่งเสริมทักษะสมองของนักเรียนฯ และข้อเสนอแนะในการนำแนวทางไปใช้ 3) ความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทางการพัฒนาสมรรถนะครูเพื่อส่งเสริมทักษะสมองของนักเรียนฯ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุดen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
650231013 รรินรดา เดชคุณมาก.pdf14.47 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.