Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79931
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอริศรา เจริญปัญญาเนตร-
dc.contributor.authorปริชญ์ หมายหมั้นen_US
dc.date.accessioned2024-08-04T04:08:30Z-
dc.date.available2024-08-04T04:08:30Z-
dc.date.issued2566-03-20-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79931-
dc.description.abstractA wildfire is a problem nowadays in northern Thailand by cause natural fuel noncontrolling. And, a wildfire affects ecology such as animals, plants and watershed, including indirectly affecting the health of persons from air pollution. In addition, wildfire severity each a year has different by climate variability. The study aimed to 1) to study the difference of hotspot patterns from climate variability and 2) to study the relationship of physical factors involved in wildfire, leading to wildfire opportunity predictive model from climate variability in Omkoi District Study Area, Chiang Mai Province by using satellite data in this study consists: 1) hotspot from Terra and Aqua data, MODIS sensor, were used to analyze hotspot patterns conducted by kernel, quadrate, and nearest neighbor analysis to determine the density, dispersion and cluster of hotspots, 2) Landsat 8 satellite images were used to analyze physical factors which are land surface temperature, drought, forest type, and above-ground carbon sequestration, And 3) ALOS PALSAR satellite images used to analyze physical factors which are digital elevation model and slope. The analysis of physical factors aimed to analyze the relation with hotspot by Pearson analysis to select physical factors for wildfire opportunity predictive model creation by linear regression analysis. The period of times of this study are El Niño year (2015 and 2019) normal year (2013 and 2017), and La Niña year (2011 and 2021). The study result was found that hotspot density in El Niñohas highest, followed by normal and La Niña years, respectively. Moreover, physical factors which the relation with wildfire from linear regression analysis found that the hotspot in El nino has highest, followed by normal and La Niña years. And, physical factors influencing wildfires are land surface temperature and drought factors. In additional, wildfire opportunity predictive model creation found that model in El Niño year has the highest precision followed by La Niña year, and normal year with the accuracy of 70.2, 54.6, and 50.7 percent, respectively.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleภูมิสารสนเทศเพื่อคาดการณ์พื้นที่ที่มีโอกาสเกิดไฟป่าจากความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศen_US
dc.title.alternativeGeo-informatics for prediction of forest fire probability areas from climate variabilityen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก-
thailis.controlvocab.thashไฟป่า -- การป้องกันและควบคุม-
thailis.controlvocab.thashไฟป่า -- อมก๋อย (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashอัคคีภัย-
thailis.controlvocab.thashเอลนีโญ-
thailis.controlvocab.thashลานีญา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractไฟป่าเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในทุกปีของภาคเหนือโดยสาเหตุเกิดจากปริมาณเชื้อเพลิงทางธรรมชาติที่ไม่ สามารถควบคุมได้ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ เช่น พืชพันธุ์ สัตว์ป่า แหล่งต้นน้ำที่สำคัญ รวมถึงปัญหามลพิษทางอากาศที่ส่งผลกระทบทางอ้อมต่อสุขภาพของมนุษย์ โดยความรุนแรงไฟป่าในแต่ ละปีมีความแดกต่างกันซึ่งเกิดจากความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ ในการศึกษานี้ ประกอบด้วยวัดถูประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาความแตกต่างรูปแบบของจุดความร้อนจากความแปรปรวน ของสภาพภูมิอากาศ และ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยทางกายภาพที่มีผลต่อโอกาสเกิดไฟป่าเพื่อสร้างแบบจำลอง คาคการณ์พื้นที่ที่มีโอกาสเกิดไฟป่าจากความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศในพื้นที่อำเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้ข้อมูลจากถ่ายดาวเทียมในการศึกษา ประกอบด้วย 1) ข้อมูลมูลจุดความร้อน จากดาวเทียม Terra และ Aqua ระบบ MODIS เพื่อใช้ในการวิเคราะห์หาความหนาแน่น การกระจายตัว และการจัดกลุ่มจุดความร้อน ด้วยวิธีการวิเคราะห์แบบเคอร์เนล ควอแครท และดัชนีเพื่อนบ้านใกล้เคียง ตามลำดับ 2) ภาพถ่ายดาวเทียม Landsat 8 เพื่อใช้ในการวิเคราะห์หาปัจจัยทางกายภาพ ได้แก่ อุณหภูมิพื้นผิว ความแห้งแล้ง ข้อมูลชนิดปjา และปริมาณคาร์บอนกักเก็บเหนือพื้นดิน และ 3) ภาพถ่ายดาวเทียม ALOS PALSAR เพื่อใช้ในการวิเคราะห์หาปัจจัยทางกายภาพ ได้แก่ ระดับความสูง และความลาดชัน โดยปัจจัจทางกายภาพนี้จะนำมาวิเคราะห์สหสัมพันธ์เพียร์สันกับจุด ความร้อนในการคัดเลือกปัจจัยทางกายภาพเพื่อนำมาสร้างแบบจำลองและสมการคาดการณ์พื้นพื้นที่ที่มี โอกาสเกิดไฟป่าในแต่ละสภาพภูมิอากาศด้วยการวิเคราะห์การถดถอย โดยใช้ช่วงเวลาศึกษา คือ ปีสภาพภูมิอากาศเอลนีโญ (พ.ศ.2558 และ 2562) ปีสภาพภูมิอากาศลานีญา (พ.ศ.2554 และ 2564) และปีสภาพภูมิอากาศปกติ (พ.ศ.2556 และ 2560) ระหว่างเดือนมกราคม จนถึง เมษายน ซึ่งเป็นช่วง ฤดูร้อนของภาคเหนือ ผลการศึกษาในปีสภาพภูมิอากาศเอลนีโญมีความหนาหน่นจุดความร้อนที่รุนแรงมากที่สุด รองลงมา คือ ปีสภาพภูมิอากาศปกติ และลานีญา ตามลำดับ นอกจากนี้ปัจจัยทางกายภาพที่มีความเกี่ยวข้อง ในการเกิดไฟป่าจากการวิเคราะห์สหสัมพันธ์เพียร์สันกับจุดความร้อน พบว่า ปัจจัยอุณหภูมิพื้นผิว และความแห้งแล้ง มีผลต่อการเกิดไฟป่าทั้งสภาพภูมิอากาศเอลนีโญ ลานีญา และปกติ ส่วนการสร้าง แบบจำลองคาดการณ์พื้นที่ที่มีโอกาสเกิดไฟป้าทางสภาพภูมิอากาศเอลนีโญมีความแม่นยำสูงที่สุด โดยมีค่าร้อยละ 70.2 รองลงมาคือ ลานีญา และ ปกติ โดยมีความแม่นยำ ร้อยละ 54.6 และ 50.7 ตามลำดับen_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630431017-ปริชญ์ หมายหมั้น.pdf293.63 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.