Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79644
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเกียรติสุดา ศรีสุข-
dc.contributor.authorจันทร์จิรา พุทธิมาen_US
dc.date.accessioned2024-07-07T03:37:47Z-
dc.date.available2024-07-07T03:37:47Z-
dc.date.issued2024-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79644-
dc.description.abstractThe objectives of this research aimed to (1) analyze the components and behaviors that indicate Teacher’s Key Competency Assessment to the Chiang Mai Education Sandbox School (2) create an assessment of Teacher’s Key Competency Assessment to the Chiang Mai Education Sandbox School, and (3) find out the quality of the assessment of Teacher’s Key Competency Assessment to the Chiang Mai Education Sandbox School. The target group for this research comprised two distinct populations including 1,680 individuals involved in the composition weight analysis, and a group of 1,250 individuals utilized for developing standardized criteria for Teacher’s Sandbox School. The research employed two primary tools including a 32items behavioral questionnaire designed to identify Teacher’s Key Competency Assessment to the Chiang Mai Education Sandbox School, and a 24 items questionnaire specifically developed to assess those identified competencies. Data analysis involved utilizing mean and standard deviation, while content validity was assessed through Item-Objective Congruence (IOC). The discriminatory power of each item was determined using t-tests, and the overall reliability of the instrument was established via Cronbach’s alpha coefficient. Grouping of key competency assessments to analyze their components using factor Analysis, and develop norm by normalized T-Score.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะสำคัญของครูในโรงเรียนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeDeveloping teacher’s key competency assessment to the Chiang Mai education sandbox schoolen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashครู -- การสอน-
thailis.controlvocab.thashครู -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashสมรรถนะ-
thailis.controlvocab.thashการประเมินผลทางการศึกษา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วิเคราะห์องค์ประกอบและพฤติกรรมบ่งชี้สมรรถนะสำคัญของครูในโรงเรียนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ (2) สร้างแบบประเมินสมรรถนะสำคัญของครูในโรงเรียนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ และ (3) หาคุณภาพของแบบประเมินสมรรถนะสำคัญของครูในโรงเรียนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มเป้าหมายในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ กลุ่มที่ใช้ในการวิเคราะห์น้ำหนักองค์ประกอบ 1,680 คน และกลุ่มที่ใช้ในการพัฒนาเกณฑ์ปกติของสมรรถนะสำคัญของครูในโรงเรียนนำร่องพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาในจังหวัด จำนวน 1,250 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยนี้ ได้แก่ แบบสอบถามพฤติกรรมบ่งชี้สมรรถนะสำคัญของครูในโรงเรียนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 32 ข้อ และแบบประเมินสมรรถนะสำคัญของครูในโรงเรียนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ ที่พัฒนาขึ้นมีจำนวน 24 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาโดย (Item-Objective Congruence: IOC) การหาอำนาจจำแนกรายข้อโดยการทดสอบที (t-test) การหาค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับโดยสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค (Cronbach's alpha) และการจัดกลุ่มพฤติกรรมบ่งชี้เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบโดยการวิเคราะห์ Factor Analysis และพัฒนาเกณฑ์ปกติโดยใช้คะแนนทีปกติ (Normalized T-Score)en_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620232004 จันทร์จิรา พุทธิมา.pdf5.31 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.