Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79575
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPhuriwat Leesawat-
dc.contributor.authorChonwipa Yarangseeen_US
dc.date.accessioned2024-06-25T01:38:40Z-
dc.date.available2024-06-25T01:38:40Z-
dc.date.issued2021-03-22-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79575-
dc.description.abstractMultifunctional excipients are gaining interest in tablet production especially the application for direct compression. Chitosan is not the common excipient for direct compression due to poor flowability and inadequate compressibility. Co-processing of chitosan and kaolin is challenge method to overcome these limitations of individual excipients. The purpose of the present study was to develop co-processed chitosankaolin by spray drying technique (rotary atomizer spray dryer) and to characterize the excipient properties. Preliminary study indicated that process parameters of spray drying could not significantly optimize the physicomechanical properties of coprocessed chitosan-kaolin. Meanwhile feed formulation containing chitosan of 70-90%, the developed co-processed excipient has better flow character comparison to the feed composed of 60% chitosan, but the compression of co-processed chitosan-kaolin presented a low tablet hardness. Formation of chitosan nanoparticles is the major factor for desirable tablet hardness. Type of kaolin is also another importance factor which coprocessed chitosan-Ranong kaolin granted the maximum strength. The successful development of co-processed chitosan-kaolin as novel tablet excipient was obtained from feed formulation composed of chitosan and Ranong kaolin paste of 55:45 (C55K45) and the optimum chitosan/tripolyphosphate ratio of 20:1. Co-processing altered the physical properties of co-processed C55K45 in such a way that it enhanced the flowability and tableting performance compare to physical mixture of chitosan and kaolin. Optimum tablet formulation consisted of acetaminophen 80 mg and coprocessed C55K45 320 mg which produced by direct compression. Various physicochemical parameters evaluation of this tablet formulation showed satisfactory results as seen from content uniformity of drug (97.17±1.71 %), disintegration time (1.96±0.67 min), hardness (15.92±1.98 kg), friability (0.22 %) and drug dissolution (>85 %). The results of short term stability study indicated that tablets were stable for the period of six months at 40 oC and 75% RH. These results suggested that coprocessed C55K45 can enhance tablet performances of low compressible drug and even as a multifunctional tablet excipient.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleCo-processing of Chitosan-Kaolin as a Novel Pharmaceutical tablet excipienten_US
dc.title.alternativeไคโตซาน-ดินขาวที่เตรียมโดยกรรมวิธีร่วมเพื่อใช้เป็นสารช่วยชนิดใหม่ทางยาเม็ดen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshTablets (Medicine)-
thailis.controlvocab.lcshChitosan-
thailis.controlvocab.lcshKaolin-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractสารช่วยเอนกประสงค์ได้รับความสนใจเพิ่มมากขึ้นในการผลิตยาเม็ด โดยเฉพาะการผลิตแบบตอกโดยตรง ไคโตชานไม่ใช่สารช่วยหลักสำหรับวิธีตอกโดยตรงเนื่องจากมีความสามารถในการไหลต่ำและมีความสามารถในการตอกอัดไม่เพียงพอการผลิตไคโตชานและดินขาวด้วยกรรมวิธีร่วมจึงเป็นวิธีที่มีความท้ทายเพื่อเอาชนะข้อจำกัดของการใช้สารช่วยแต่ละชนิด ในการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาไคโตซาน-ดินขาวที่ผลิตด้วยกรรมวิธีร่วมด้วยเทคนิคการพ่นแห้ง (เครื่องทำแห้งแบบพ่นชนิดหมุนเหวี่ยง) และเพื่อประเมินคุณสมบัติของสารช่วยที่ได้ ผลการศึกษาเบื้องต้น พบว่าปัจจัยของกระบวนการพ่นแห้งไม่มีผลต่อสมบัติทางกายภาพเชิงกลที่เหมาะสมของไคโตชาน-ดินขาวที่ผลิตด้วยกรรมวิธีร่วม โดยสูตรตำรับของสารพ่นที่ประกอบด้วยไคโตซานร้อยละ 70-90 พบว่าทำให้ได้สารช่วยไคโดชาน-ดินขาวที่ผลิตด้วยกรรมวิธีร่วมที่มีคุณลักษณะของการไหลดีกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับสารพ่นที่ประกอบด้วยไคโตชานร้อยละ 60 แต่เม็ดยาที่ได้จากการตอกอัดด้วยสารช่วยไคโตซาน-ดินขาวกรรมวิธีร่วมนี้ยังมีความแข็งต่ำ กระบวนการเกิดอนุภาคนาโนของไคโตซานคือตัวแปรหลักที่ทำให้ได้ความแข็งของเม็ดยาตามต้องการ และอีกปัจจัยหนึ่งคือชนิดของดินขาวที่ใช้ ซึ่งกรรมวิธีร่วมของไคโตซาน-ดินขาวระนองให้สมบัติด้านความแข็งของเม็ดยามากที่สุดการพัฒนาไคโตซาน-ดินขาวที่ผลิตด้วยกรรมวิธีร่วมที่ประสบผลสำร็จเพื่อเป็นสารช่วยชนิดใหม่ทางยาเม็ด ได้จากสูตรตำรับของสารพ่นที่ประกอบด้วยไคโตซานและเพสท์ของดินขาวระนองในสัดส่วนเท่ากับ 55:45 (C55K45) และอัตราส่วนของไคโตซาน/ไตรพอลิฟอสเฟตที่เหมาะสมคือ 20:1 โดยสมบัติทางกายภาพและศักยภาพการผลิตเป็นเม็ดของ C55K45 ที่ผลิตด้วยกรรมวิธีร่วมดีกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับผงผสมของไคโตซานและดินขาว ตำรับยาเม็ดที่เหมาะสมประกอบด้วยอะเซตามิโนเฟน 80 มิลลิกรัม และC55K45ที่ผลิตด้วยกรรมวิธีร่วม 320 มิลลิกรัม ถูกผลิตโดยวิธีการตอกตรง การทดสอบสมบัติทางเคมีกายภาพของยาเม็ดแสดงผลที่น่าพอใจจากความสม่ำเสมอของตัวยาสำคัญเท่ากับร้อยละ 97.17+-1.71, ระยะเวลาในการแตกตัว 1.96+-0.67 นาที, ความแข็ง 15.92+-1.98 กิโลกรัม, ความกร่อนร้อยละ 0.22 และการละลายของตัวยาสำคัญมากกว่าร้อยละ 85 การทดสอบความคงตัวระยะสั้นพบว่ายาเม็ดมีความคงตัวตลอคระยะเวลา 6 เดือน ที่อุณหภูมิ 40 องศาเซลเชียสและความชื้นสัมพัทธ์ร้อยละ 75 จากผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า CSSK45 ที่ผลิตด้วยกรรมวิธีร่วม สามารถเพิ่มศักยภาพในการผลิดเป็นยาเม็ดของตัวยาที่มีความสามารถในการตอกอัดต่ำและเพื่อเป็นสารช่วยเอนกประสงค์ทางยาเม็ดได้en_US
Appears in Collections:PHARMACY: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
581051004 ชลวิภา ยารังษี.pdf22.03 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.