Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79564
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรรถวิทย์ อุปโยคิน-
dc.contributor.authorณัฐพล อรุณสวัสดิ์en_US
dc.date.accessioned2024-06-22T08:33:15Z-
dc.date.available2024-06-22T08:33:15Z-
dc.date.issued2024-01-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79564-
dc.description.abstractVanpools are an effective mode of transportation for groups of people going to the same place. Chiang Mai Rajabhat University provide the Vanpools pick up service project to students who travel between two campus districts: Chiang Mai Rajabhat University, Mae Rim district, and Chiang Mai Rajabhat University, Muang district, with a distance of approximately 30 kilometers. This study examined components using factor analysis and analyzed reasonable fees using Kishi's Logit Price Sensitivity Measurement Model (KLP). The study developed a binary logit model for motorcycles and air-conditioned buses, and a multinomial logit model for three modes: motorcycles, songthaew, and air-conditioned buses. According to the study's findings, the reasonable fare was between 11.24 and 18.95 baht. The group of variables that influence the choice of travel mode includes positive feelings, negative feelings, service aspects, perceptions of controlled or adjusted behavior, intentions, and past behavior, with a Kaiser–Meyer–Olkin (KMO) statistic value of 0.849. Additionally, the following factors influence the choice of transport mode: gender, age, access time, in-vehicle travel time, travel cost, being on time, having adequate seats, preventing accidents, and reducing engine vibration. Upon examination of the policy without collecting fees for air-conditioned buses and songthaew, it was found that the proportion of users of air-conditioned buses and songthaew was 70.60 percent and songthaew 12.33 percents., Furthermore If the fare was collected at 20 baht per trip, it was found that the proportion of users of air-conditioned buses and songthaew was 38.56 percent and songthaew 6.73 consequently. While reducing vehicle access time from eight to five minutes increased the use of songthaew and air-conditioned buses of only three to five percents. If air-conditioned buses service is improved by prioritizing accident safety, having adequate seats, and being on time, and reducing engine vibration can encourage the number of passengers by 7.69 percent.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวิเคราะห์รูปแบบการเดินทางและราคาที่เหมาะสมสำหรับโครงการรถตู้ร่วมมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeStudy of travel mode choice and reasonable fee for the Chiang Mai Rajabhat University vanpooling programen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashแบบจำลองทางวิศวกรรม-
thailis.controlvocab.thashการวิเคราะห์ปัจจัยการผลิต-
thailis.controlvocab.thashการขนส่ง-
thailis.controlvocab.thashรถตู้โดยสาร-
thailis.controlvocab.thashวิศวกรรมโยธา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractรถตู้ร่วม (Vanpools) เป็นการจัดให้บริการขนส่งผู้เดินทางร่วมกันโดยมีจุดหมายปลายทางที่เดียวกันอย่างมีประสิทธิภาพระบบหนึ่งที่มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่นำมาใช้ในโครงการบริการรับ-ส่งนักศึกษาระหว่างวิทยาเขตเวียงบัว อำเภอเมือง กับวิทยาเขตสะลวง-ขี้เหล็ก อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ ระยะทางโดยประมาณ 30 กิโลเมตร งานวิจัยนี้ได้วิเคราะห์ปัจจัย (Factor Analysis) และราคาที่เหมาะสมด้วยแบบจำลอง Kishi’s Logit Price Sensitivity Measurement (KLP) รวมถึงพัฒนาแบบจำลองการเลือกรูปแบบการเดินทางแบบโลจิตสองทางเลือก (Binary Logit Model) โดยมีทางเลือกระหว่างรถจักรยานยนต์กับรถโดยสารปรับอากาศ และแบบจำลองโลจิตหลายทางเลือก (Multinomial Logit Model) โดยมีทางเลือกเดินทาง ได้แก่ รถจักรยานยนต์ รถโดยสารสี่ล้อหรือรถสองแถว และรถโดยสารปรับอากาศ ผลการศึกษา พบว่า อัตราค่าโดยสารที่เหมาะสมอยู่ในช่วง 11.24 - 18.95 บาทต่อเที่ยว ผลการวิเคราะห์ปัจจัย พบว่า กลุ่มปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกรูปแบบการเดินทาง ประกอบด้วย ความรู้สึกด้านบวก ความรู้สึกด้านลบ การให้บริการ การรับรู้ถึงการถูกควบคุม หรือปรับพฤติกรรม ความตั้งใจ และพฤติกรรมในอดีต โดยมีค่าสถิติ Kaiser–Meyer–Olkin (KMO) เท่ากับ 0.849 และตัวแปรที่มีผลต่อการเลือกรูปแบบการเดินทาง ได้แก่ เพศ อายุ เวลาเข้าถึงยานพาหนะ เวลาการเดินทางขณะอยู่ในยานพาหนะ ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ความรู้สึกปลอดภัยด้านอุบัติเหตุ การมีที่นั่งเพียงพอ ความตรงต่อเวลา และแรงสั่นสะเทือนจากเครื่องยนต์ การทดสอบนโยบายโดยไม่เก็บค่าโดยสารรถโดยสารปรับอากาศ และรถโดยสารสี่ล้อ พบว่า สัดส่วนผู้ใช้รถโดยสารปรับอากาศและรถโดยสารสี่ล้ออยู่ในสัดส่วนร้อยละ 70.60 และ12.33 ตามลำดับ และหากเก็บค่าโดยสาร 20 บาทต่อเที่ยว พบว่า สัดส่วนผู้ใช้รถโดยสารปรับอากาศและรถโดยสารสี่ล้ออยู่ในสัดส่วนร้อยละ 38.56 และ 6.73 ตามลำดับ ขณะที่การลดระยะเวลาเข้าถึงยานพาหนะ (Access Time)จาก 8 นาที เป็น 5 นาที นั้นส่งผลต่อผู้โดยสารทั้งสองประเภทเพียง ร้อยละ3-5 หากปรับปรุงการให้บริการรถโดยสารปรับอากาศโดยเน้นความปลอดภัยด้านอุบัติเหตุ การมีที่นั่งเพียงพอ ความตรงต่อเวลา รวมถึงลดแรงสั่นสะเทือนจากเครื่องยนต์จะทำให้ผู้ใช้รถโดยสารปรับอากาศเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.69en_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
650631049-NATTAPON ARUNSAWAT.pdf7.52 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.