Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79547
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorParkpoom Phetpradap-
dc.contributor.authorChananun Onjanen_US
dc.date.accessioned2024-06-21T10:04:14Z-
dc.date.available2024-06-21T10:04:14Z-
dc.date.issued2024-04-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79547-
dc.description.abstractWe propose a new discrete-time stochastic epidemic compartment model to study and analyze the spread of disease. The SRhQIHR model consists of six compartments; Susceptible (S), High risk (Rh), Quarantined (Q), Infected (I), Hospitalized (H) and Co-advisor Co-advisor Recovered (R). The high risk class (Rh) comprises individuals who are at higher risk of infection compared to the general susceptible population, such as those with close contact to infected individuals. Transitions between compartments are assumed to follow certain probability distributions that capture the movement of individuals. The advancement of tracking technologies enables the differentiation of high risk individuals from susceptible ones through the use of tracking equipment or mobile applications. Therefore, this model f inds relevance in technology-ready societies. We utilize the SRhQIHR model to forecast the future spread of diseases. The model incorporates both the transmission dynamics of epidemics and measures to control their spread. We examine the mathematical analysis of the model such as long-term behavior, the basic reproduction number and sensitivity analysis. Moreover, the Monte Carlo simulation can be employed to study the survival distribution of the outbreak, the final size of infected individuals, and the expected duration of the epidemic. By this comprehensive approach, our model provides valuable insights for understanding and managing disease outbreaks in various scenarios. Additionally, we present the optimal control techniques applied to the SRhQIHR model by considering two control strategies, namely, the quarantine and isolation strategies.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleExamination of a discrete stochastic epidemic model with high risk and quarantine classesen_US
dc.title.alternativeการตรวจสอบแบบจําลองโรคระบาดเฟ้นสุ่มวิยุตที่มีกลุ่มเสี่ยงสูงและกลุ่มกักตัวen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshEpidemics-
thailis.controlvocab.lcshEpidemics -- Mathematical models-
thailis.controlvocab.lcshEpidemics -- Models-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractในงานวิจัยนี้ผู้วิจัยได้นำเสนอแบบจำลองโรคระบาดแบ่งกลุ่มแบบเฟ้นสุ่มชนิดเวลาวิยุตรูปแบบใหม่เพื่อศึกษาและวิเคราะห์การแพร่กระจายของโรค แบบจำลอง SRhQIHR ประกอบด้วย 6 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มผู้ที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ (S) กลุ่มผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อสูง(Rh) กลุ่มผู้ที่กักตัว (Q) กลุ่มผู้ติดเชื้อแล้ว (I) กลุ่มผู้ที่รักษาตัวในโรงพยาบาล (H) และกลุ่มผู้ที่หายจากการติดเชื้อ (R) ทั้งนี้กลุ่มผู้ที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อสูง (Rh) คือกลุ่มบุคคลที่มีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อเมื่อเทียบกับประชากรที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อทั่วไป เช่น ผู้ที่สัมผัสใกล้ชิดกับผู้ติดเชื้อ โดยการเปลี่ยนกลุ่มของประชากรถูกกำหนดให้เป็นไปตามการแจกแจงความน่าจะเป็นที่เหมาะสม แบบจำลองนี้เหมาะสมกับเทคโนโลยีในสมัยใหม่เนื่องจากในปัจจุบันนั้นเทคโนโลยีด้านการติดตามมีความก้าวหน้าเป็นอย่างมากสามารถช่วยวินิจฉัยในระบุบุคคลที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อสูงจากคนที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อได้โดยใช้อุปกรณ์ติดตามหรือแอพพลิเคชั่นมือถือ ส่งผลให้แบบจำลองนี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในสังคมที่มีความพร้อมด้านเทคโนโลยีได้ แบบจำลอง SRhQIHR สามารถใช้เพื่อพยากรณ์การแพร่ระบาดของโรครวมถึงพลวัตการแพร่ของโรคระบาดและการออกมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดที่เหมาะสม โดยเราสามารถวิเคราะห์แบบจำลองเชิงคณิตศาสตร์เพื่อศึกษาค่าสำคัญของโรค ได้แก่ พฤติกรรมในระยะยาว ค่าระดับการติดเชื้อพื้นฐานและความไวของการแพร่ นอกเหนือจากการศึกษาในเชิงทฤษฎีแล้วเราสามารถใช้เทคนิคการจำลองแบบมอนติคาร์โลเพื่อศึกษาการแพร่ระบาดของโรคได้ด้วย เช่น โอกาสการคงอยู่ของโรคระบาด จำนวนผู้ติดเชื้อทั้งโรคระบาด และระยะเวลาในการแพร่ระบาด แบบจำลองดังกล่าวสามารถถูกใช้เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกทำให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับโรคระบาดและสามารถจัดการกับการแพร่ระบาดของโรคในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดจากกลยุทธ์การควบคุม 2 แบบ ได้แก่ การกักตัวและการแยกตัวen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620551005-chananun onjan.pdf5.15 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.