Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79487
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorChalermchai Pilapong-
dc.contributor.advisorZhangang Xiao-
dc.contributor.advisorQinglian Wen-
dc.contributor.authorLi, Jingen_US
dc.date.accessioned2024-06-06T00:34:30Z-
dc.date.available2024-06-06T00:34:30Z-
dc.date.issued2024-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79487-
dc.description.abstractAcacetin, one of the polyphenols, is a natural product found in various plants, including Silver birch, and Damiana. Previous studies showed that acacetin has anti-cancer effects on many kinds of cancer cells, however, the role of and the mechanisms of actions of acacetin on non-small cell lung cancer (NSCLC) cells is still not fully understood. Herein, we found that, in vitro, acacetin inhibited the proliferation, invasion, and migration of NSCLC cells, A549 and H460, in a dose-dependent manner. Meanwhile, flow cytometry assay results showed that acacetin induced G2/M phase cell cycle arrest, and apoptosis of NSCLC cells. In vivo, acacetin suppressed tumor formation of A549-xenografted nude mice model with no obvious toxicities. Western blotting results showed that the protein levels of cell cycle-related proteins cyclin B1, cyclin D, and anti-apoptotic protein Bcl-2 had decreased, while the apoptosis-related protein Bak had increased both in NSCLC cells and in A549-xenografted tumor tissues. For investigating the molecular mechanism behind the biological effects of acacetin on NSCLC, we found that acacetin induced the expression levels of tumor suppressor p53 both in vitro and in vivo. MicroRNA, miR-34a, the direct target of p53, has been shown anti-NSCLC proliferation effects by suppressing the expression of its target gene programmed death ligand 1 (PD-L1). We found that acacetin upregulated the expression levels of miR-34a, and downregulated the expression levels of PD-L1 of NSCLC cells in vitro and of tumors in vivo. In vitro, knockdown p53 expression by siRNAs reversed the induction effects of acacetin on miR-34a expression and abolished the inhibitory activity of acacetin on NSCLC cell proliferation. Furthermore, using agomir and antagomir to overexpress and suppress the expression miR-34a in NSCLC cells was also examined. We found that miR-34a agomir showed similar effects as acacetin on A549 cells, while miR-34a antagomir could partially or completely reverse acacetin’s effects on A549 cells. In vivo, intratumor injection of miR-34a antagomir could drastically suppress the anti-tumor formation effects of acacetin in A549-xenografted nude mice. Overall, our results showed that acacetin inhibits cell proliferation and induces cell apoptosis of NSCLC cells by regulating miR-34a.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleEffect of acacetin on cellular function and microRNA-34a/ programmed cell death-ligand 1 axis in non-small cell lung canceren_US
dc.title.alternativeผลของอะคาซิตีนต่อการทำงานของเซลล์และแกนวิถีสัญญาณ ไมโครอาร์เอ็นเอ-สามสิบสี่เอ/โปรแกรมเซลล์เดต-ลิแกนด์หนึ่งในเซลล์มะเร็งปอดชนิดไม่ใช่เซลล์ขนาดเล็กen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshLungs -- Cancer-
thailis.controlvocab.lcshAcacetin-
thailis.controlvocab.lcshPolyphenols-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractอะคาซิตีน ซึ่งเป็นหนึ่งในสารประกอบโพลีฟีนอล เป็นผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติที่พบในพืชหลายชนิด รวมทั้ง ซิลเวอร์เบิร์ช และดาเมียนา การศึกษาก่อนหน้านี้แสดงให้เห็นว่าอะคาซิตีนมีฤทธิ์ต้านมะเร็งต่อเซลล์มะเร็งหลายชนิด อย่างไรก็ตาม บทบาทและกลไกการออกฤทธิ์ของอะคาซิตีนต่อเซลล์มะเร็งปอดที่ไม่ใช่เซลล์ขนาดเล็ก (NSCLC) ยังไม่ชัดเจน ในที่นี้ พบว่าในการศึกษาระดับเซลล์ อะคาซิตินสามารถยับยั้งการเจริญเติบโต การลุกล้ำ และการเคลื่อนที่ของ NSCLC ชนิด A549 และ H460 ในลักษณะที่ขึ้นกับความเข้มข้นของอะคาซิตีน ในขณะเดียวกัน ผลการทดสอบด้วยโฟลว์ไซโตเมตรีแสดงให้เห็นว่า อะคาซิตีนทําให้เกิดการหยุดวัฏจักรของเซลล์ในระยะ G2/M และการตายของเซลล์ ในการศึกษาในสัตว์ทดลอง อะคาซิตีนสามารถยับยั้งการก่อตัวของก้อนมะเร็งในหนูเปลือยที่ได้รับการปลูกถ่ายเซลล์มะเร็งปอด A549 โดยไม่แสดงความเป็นพิษที่ชัดเจน ผลการวิเคราะห์ด้วยวิธีเวสเทอร์นบล็อท แสดงให้เห็นว่าระดับโปรตีนที่เกี่ยวข้องกับวัฏจักรของเซลล์ เช่น cyclin B1, cyclin D และโปรตีนที่เกี่ยวกับการยับยั้งการตายแบบอะพอพโทซีส เช่น Bcl-2 ลดลง ในขณะที่โปรตีนที่เกี่ยวข้องกับการตายของเซลล์ เช่น Bak เพิ่มขึ้นทั้งในเซลล์ และในเนื้อเยื่อมะเร็ง ในการตรวจสอบกลไกระดับโมเลกุลของอะคาซิติน พบว่าอะคาซิตีนเหนี่ยวนำให้เกิดการแสดงออกของตัวยับยั้งเนื้องอก p53 ทั้งในระดับเซลล์และในสัตว์ทดลอง ในการศึกษาผลของไมโครอาร์เอ็นเอชนิด miR-34a ซึ่งเป็นเป้าหมายโดยตรงของ p53 พบว่า miR-34a สามารถลดการเจริญเติบโตของเซลล์มะเร็งปอด โดยการยับยั้งการแสดงออกของยีนเป้าหมายโปรแกรมเซลล์ตาย-ลิแกนด์หนึ่ง (PD-L1) นอกจากนี้ พบว่าอะคาซิตีนสามารถเพิ่มระดับการแสดงออกของ miR-34a และลดระดับการแสดงออกของ PD-L1 ของเซลล์มะเร็งปอด ทั้งในระดับเซลล์และในสัตว์ทดลอง การลดการแสดงออกของ p53 โดย siRNAs สามารถยับยั้งผลการเหนี่ยวนําของอะคาซิตีนต่อการแสดงออกของ miR-34a และลดผลของอะคาซิตีนต่อการยับยั้ง การเจริญเติบโตของเซลล์ NSCLC นอกจากนี้ ได้มีการใช้ agomir และ antagomir เพื่อเหนี่ยวนำแสดงออกและระงับการแสดงออก miR-34a ในเซลล์ NSCLC พบว่า miR-34a agomir แสดงผลเช่นเดียวกับอะคาซิตีนในเซลล์ A549 ในขณะที่ miR-34a antagomir สามารถยับยั้งผลของอะคาซิตีนต่อเซลล์ A549 ได้บางส่วนหรือทั้งหมด ในสัตว์ทดลอง การฉีด miR-34a antagomir เข้าไปในก้อนมะเร็งของหนูเปลือยที่ได้รับการปลูกถ่ายเซลล์มะเร็งปอด A549 สามารถลดผลการยับยั้งการก่อตัวของก้อนมะเร็งโดยอะคาซิตีน โดยสรุป ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่า อะคาซิตินสามารถยับยั้งการเจริญเติบโต และกระตุ้นการตายของเซลล์ NSCLC โดยการควบคุม miR-34aen_US
Appears in Collections:AMS: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611155802-JING LI.pdf3.84 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.