Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79483
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorTinakon Wongpakaran-
dc.contributor.advisorNahathai Wongpakaran-
dc.contributor.advisorDanny Wedding-
dc.contributor.authorTing, Panen_US
dc.date.accessioned2024-05-29T09:30:13Z-
dc.date.available2024-05-29T09:30:13Z-
dc.date.issued2024-02-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79483-
dc.description.abstractBackground: The parents of children with autism spectrum disorder (ASD) experience more depression than those of children without ASD, which may further aggravate the condition of these children. Social inhibition is one of the risk factors for depression and common problem these parents meet. Family support can be productive against depressive symptoms and mediator on depression. Objective: The aim of the present study was to investigate how the social inhibition of couples might impact either their own or their partner’s experience of depression, with 'perceived family support' serving as a mediating factor among parents of children with ASD within the dyadic framework. Method: The study conducted a cross-sectional analysis with secondary data. The actor-partner interdependence mediation model analysis was applied among 397 pairs of parents from China. Inventory for Interpersonal Problems, Multidimensional Scale for Perceived Social Support and Core Symptom Index were assessed. Results: Mean age of participants was 35.85 (SD 3.26). There were direct and indirect actor effects. Both wives’ and husbands’ depression were predicted by their own levels of social inhibition (β = 0.290-0.362, p ≤ 0.001). Regarding indirect effect, both wives' and husbands' social inhibition were associated with their own depression through their perceived family support (β = 0.010, p < 0.001). For partner effect, there was an indirect partner effect: wives’ social inhibition significantly impacted husbands’ depression through the wives’ perceived family support (β = 0.003, p = 0.018). Conclusions: In line with related studies, social inhibition was associated with depressive symptoms. At the same time, perceived family support could be the mediator on depression. Apart from targeted intervention to parents’ depression through social inhibition reduce and family support access, they may need to tailor special parental education and support based on their difficulties to help them better take care of their children.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleSocial inhibition and depression among couples who are parents of children with autism spectrum disorder: the mediating role of family supporten_US
dc.title.alternativeการไม่แสดงออกทางสังคมและภาวะซึมเศร้าในคู่สมรสที่เป็นพ่อแม่ของเด็กออติสติก: บทบาทการส่งผ่านของความรู้สึกได้รับการสนับสนุนจากครอบครัวen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.lcshDepression, Mental-
thailis.controlvocab.lcshAutism in children-
thailis.controlvocab.lcshSpouses-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractภูมิหลัง: บิดามารดาของเด็กออทิสติกมักประสบภาวะซึมเศร้ามากกว่าบิดามารดาของเด็กที่ไม่ได้เป็นออทิสติกซึ่งส่งผลเสียต่อภาวะของเด็กเหล่านี้ การยับยั้งทางสังคมเป็นปัจจัยเสี่ยงอย่างหนึ่งของภาวะซึมเศร้า และพบได้บ่อยในกลุ่มบิดามารดาเหล่านี้ การสนับสนุนจากครอบครัวสามารถลดและจัดการกับภาวะซึมเศร้าได้ วิธีการศึกษา: เป้าหมายของการศึกานี้คือศึกษาว่าการยับยั้งทางสังคมของคู่สมรสจะส่งผลกระทบต่อภาวะซึมเศร้าของตัวเองหรือกับคู่สมรสอย่างไร โดยมีความรู้สึกได้รับการสนับสนุนจากครอบครัวเป็นตัวแปรคั่นกลางในบิดามารดาของบุตรที่เป็นออทิสติกในกรอบแนวคิดของความเป็นคู่ การศึกษานี้ทำการวิเคราะห์แบบภาคตัดขวางโดยวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิ มีการวิเคราะห์โมเดลแบบ actor-partner interdependence model ในคู่ของบิดามารดาชาวจีน 397 คู่ มีการทำแบบสอบถามปัญหาสัมพันธภาพระหว่างบุคคล (IIP-32) แบบสอบถามความรู้สึกหลากหลายมิติเกี่ยวกับความช่วยเหลือทางสังคม (ฉบับปรับปรุงภาษาไทย) (r-Thai MSPSS) และดัชนีอาการสำคัญ (CSI) ผลการศึกษา: อายุเฉลี่ยของอาสาสมัครคือ 35.85 (±3.26) ปี มีผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อม ภาวะซึมเศร้าของทั้งมารดาและบิดาถูกทำนายโดยระดับของการยับยั้งทางสังคมของบุคคลนั้น (β = 0.290-0.362, p ≤ 0.001) ส่วนผลกระทบทางอ้อมนั้นพบว่าทั้งการยับยั้งทางสังคมของมารดาและบิดามีความสัมพันธ์กับอาการซึมเศร้าของตนเองผ่านการรับรู้เกี่ยวกับการสนับสนุนของครอบครัว (β = 0.010, p < 0.001) สำหรับผลกระทบของคู่พบว่ามีผลกระทบทางอ้อม โดยการยับยั้งทางสังคมของมารดามีผลกระทบต่อภาวะซึมเศร้าของสามีอย่างมีนัยสำคัญโดยผ่านทางความรู้สึกของการสนับสนุนจากครอบครัวของภรรยา (β = 0.003, p = 0.018) สรุป: การวิจัยนี้เป็นไปในทางเดียวกันกับการวิจัยอื่นที่ว่าการยับยั้งทางสังคมมีความสัมพันธ์กับอาการซึมเศร้า ในขณะเดียวกันความรู้สึกได้รับการสนับสนุนจากครอบครัวก็เป็นตัวแปรคั่นกลาง นอกจากการให้การแทรกแซงที่มุ่งเน้นการลดการยับยั้งทางสังคมและเพิ่มการสนับสนุนจากครอบครัวแล้ว มีความจำเป็นที่จะต้องให้การศึกษาพิเศษแก่บิดามารดาและการสนับสนุนที่ช่วยแก้ปัญหาของพวกเขา เพื่อช่วยให้พวกเขาได้ดูแลบุตรได้ดีขึ้นen_US
Appears in Collections:GRAD-Health Sciences: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
652835813 Ting Pan.pdfTing Pan's thesis2.57 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.