Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79439
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSompop Moonchai-
dc.contributor.advisorThaned Rojsiraphisal-
dc.contributor.advisorThanasak Mouktonglang-
dc.contributor.authorKanokrat Baisaden_US
dc.date.accessioned2024-05-03T00:50:23Z-
dc.date.available2024-05-03T00:50:23Z-
dc.date.issued2024-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79439-
dc.description.abstractA accurate spatial interpolation of geostatistical data plays a crucial role in both climate risk assessment and adaptation. Kriging with external drift (KED) method emerges as a powerful tool for spatial interpolation. It specifically designs to incorporate auxiliary information in the estimations of target variable at unobserved points. However, the traditional KED methods relying on polynomial trend functions can exhibit limitations in certain scenarios. These limitations stem from their inability to fully capture the complicated and non-linear relationships that might exist between the target variable and the incorporated auxiliary variables. This dissertation introduces a novel trend function for the KED method that leverages the power of a machine learning algorithm, least squares support vector regression (LSSVR), to construct non-linear trend functions for enhanced spatial prediction accuracy. The polynomial trend functions were fitted using the generalized least squares (GLS) estimator to compare the effectiveness of the proposed trend prediction method. Additionally, the accuracy of both KED and regression kriging (RK) methods were evaluated through comparison with the ordinary kriging (OK) method for monthly mean temperature and pressure estimation across Thailand throughout the year 2017. The results indicated that KED with LSSVR exhibits demonstrably superior performance comparing to the other methods.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleKriging methods using non-linear trend functions from machine learning and its applicationsen_US
dc.title.alternativeวิธีคริกกิงโดยใช้ฟังก์ชันแนวโน้มแบบไม่เชิงเส้นจากการเรียนรู้ของเครื่องและการประยุกต์en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshSpatial data infrastructures-
thailis.controlvocab.lcshSpatial analysis (Statistics) -- Data processing-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการประมาณค่าในช่วงเชิงพื้นที่ของข้อมูลทางสถิติที่มีความแม่นยำนั้น มีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการบริหารความเสี่ยงและการวางแผนการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเชิงกลยุทธ์ วิธีคริกกิงที่ใช้ตัวแปรภายนอกเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพสำหรับประมาณค่าในช่วงเชิงพื้นที่ วิธีนี้ออกแบบเพื่อใช้ตัวแปรเสริมร่วมในการประมาณค่าตัวแปรเป้าหมายในพื้นที่ที่ไม่มีข้อมูล อย่างไรก็ตามวิธีคริกกิงที่ใช้ตัวแปรภายนอกแบบดั้งเดิมอาศัยฟังก์ชันแนวโน้มเป็นฟังก์ชันพหุนามมีข้อจำกัดในบางสถานการณ์ ข้อจำกัดเหล่านี้เกิดจากการไม่สามารถอธิบายความสัมพันธ์ที่ซับซ้อนและไม่เชิงเส้นที่อาจมีอยู่ระหว่างตัวแปรเป้าหมายกับตัวแปรเสริม วิทยานิพนธ์นี้ได้เสนอการสร้างฟังก์ชันแนวโน้มแบบใหม่สำหรับวิธีคริกกิงที่ใช้ตัวแปรภายนอก โดยใช้การเรียนรู้ของเครื่องที่มีประสิทธิภาพที่เรียกว่าวิธีซัพพอร์ตเวกเตอร์แมทชีนแบบค่ากำลังสองน้อยที่สุด สำหรับสร้างฟังก์ชันแนวโน้มแบบไม่เชิงเส้น เพื่อปรับปรุงความแม่นยำในการประมาณค่าเชิงพื้นที่ ฟังก์ชันแนวโน้มแบบพหุนามที่ใช้ตัวประมาณโดยวิธีกำลังสองน้อยที่สุดแบบนัยทั่วไปถูกนำมาใช้เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการทำนายของฟังก์ชันแนวโน้มที่นำเสนอ นอกจากนี้วิธีคริกกิงที่ใช้ตัวแปรภายนอกและวิธีคริกกิงแบบถดถอยได้ถูกนำไปเปรียบเทียบกับวิธีคริกกิงสามัญ สำหรับการประมาณค่าอุณหภูมิและความดันเฉลี่ยรายเดือนทั่วประเทศไทยตลอดปี ค.ศ. 2017 ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าวิธีคริกกิงที่ใช้ตัวแปรภายนอกโดยใช้วิธีซัพพอร์ตเวกเตอร์แมทชีนแบบค่ากำลังสองน้อยที่สุดมีประสิทธิภาพเหนือกว่าวิธีอื่นอย่างเห็นได้ชัดen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610551011-KANOKRAT BAISAD.pdf28.38 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.