Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79424
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorKattareeya Kumthip-
dc.contributor.advisorPattara Khamrin-
dc.contributor.advisorNiwat Maneekarn-
dc.contributor.authorPhitchakorn Phengmaen_US
dc.date.accessioned2024-01-24T01:05:13Z-
dc.date.available2024-01-24T01:05:13Z-
dc.date.issued2021-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79424-
dc.description.abstractHuman enteric pathogens in the family Caliciviridae including norovirus (NoV) and sapovirus (SaV) are associated with acute diarrheal disease globally and are considered as one of the viruses with high genetic diversity. In order to investigate the epidemiology of NoV and SaV in pediatric patients with acute diarrhea in Chiang Mai, Thailand from January 2019 to December 2020, a total of 675 stool specimens were collected and tested for the presence of NoV and SaV by RT-multiplex PCR. The results showed that 126 (18.7%) and 6 (0.9%) stool samples were positive for NoV and SaV, respectively. Mixed infection of NoV and SaV was detected in one patient (0.2%). Among 10 different NoV strains detected in this study, NoV genogroup II genotype 4 (GII.4) was the most predominant genotype followed by GII.3, GII.2, GII.6, GII.12, GII.7, GII.17, GI.4, GII.14, and GI.3. For GII.4 variants, Sydney 2012 was the most predominant variant. Interestingly, monthly distribution of NoV genotypes revealed that NoV GII.3 increased dramatically in August 2019, suggesting an outbreak of NoV GII.3 in the community. In addition, 3 genotypes of SaV were detected in this study. Of these, SaV GI.1 was the most predominant genotype followed by GI.2 and GII.5. For the dual-typing of NoV GII, 64 out of 124 NoV strains detected in this study were successfully amplified for the partial RdRp/VP1 region by semi-nested PCR. Of these, NoV GII.4 Sydney 2012[P16] was the most prevalent type, followed by GII.3[P12], GII.4 Sydney 2012[P31], GII.2[P16], GII.12[P16], GII.6[P7], GII.17[P17], and GII.7[P7]. In conclusion, this study demonstrates the prevalence and genetic diversity of NoV and SaV circulating in pediatric patients with acute gastroenteritis in Chiang Mai, Thailand during 2019 to 2020 and an emergence of NoV GII.3 infection in 2019.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleThe molecular detection and genetic characterization of human norovirus and sapovirus in pediatric patients with acute diarrhea in Chiang Mai, Thailanden_US
dc.title.alternativeการตรวจหาในระดับโมเลกุลและการศึกษาคุณลักษณะทางพันธุกรรมของไวรัสโนโรและไวรัสซาโปที่ทำให้เกิดโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันในผู้ป่วยเด็กที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลในจังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทยen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshDiarrhea-
thailis.controlvocab.lcshIntestines -- Diseases-
thailis.controlvocab.lcshDiarrhea in children-
thailis.controlvocab.lcshViruses-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractเชื้อก่อโรคในระบบทางเดินอาหารของมนุษย์ในวงศ์แคลิซิไวริดีได้แก่ ไวรัสโนโรและไวรัสซาโป มีความเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันทั่วโลกและถูกจัดเป็นไวรัสชนิดหนึ่งที่มีความหลากหลายทางพันธุกรรมสูง เพื่อที่จะศึกษาระบาดวิทยาของไวรัสโนโรและไวรัสซาโปในผู้ป่วยเด็กโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันในจังหวัดเชียงใหม่ของประเทศไทย ระหว่างเดือนมกราคมปี ค.ศ. 2019 ถึงเดือนธันวาคมปี ค.ศ. 2020 จึงได้มีการเก็บตัวอย่างอุจาระ ทั้งหมด 675 ตัวอย่าง และทำการทดสอบเพื่อตรวจหาเชื้อไวรัสโนโรและไวรัสซาโปโดยใช้เทคนิค RT-multiplex PCR ผลการศึกษาพบว่าตัวอย่างอุจจาระจำนวน 126 (18.7%) และ 6 (0.9%) ตัวอย่าง ให้ผลบวกต่อเชื้อไวรัสโนโรและไวรัสซาโป ตามลำดับ การติดเชื้อร่วมกันของเชื้อไวรัสโนโรและ ไวรัสชาโป พบในผู้ป่วยจำนวน 1 ราย (0.2%) จากจำนวนเชื้อไวรัสโนโรทั้งหมด 10 สายพันธุ์ที่ตรวจพบในการศึกษานี้ ไวรัสโนโร GII.4 พบมากที่สุด ตามด้วย GII.3, GII.2, GII.6, GII.12, GII.7, GII.17, GI.4, GII.14, และ GI.3 ในกลุ่มของ GII.4 พบว่า Sydney 2012 เป็นแวเรียนท์ที่พบได้บ่อยที่สุด เป็นที่น่าสนใจว่า การกระจายตัวของเชื้อไวรัสโนโรสายพันธุ์ต่างๆ ที่ตรวจพบในแต่ละเดือนแสดงให้เห็นว่า ไวรัสโนโร GII.3 เพิ่มขึ้นอย่างมากในเดือนสิงหาดมในปี ค.ศ. 2019 บ่งชี้ถึงการระบาดของเชื้อไวรัสโนโร GII3 ในชุมชน นอกจากนี้ ไวรัสซาโป 3 จีโนไทป์ถูกตรวจพบในการศึกษานี้ด้วย ในจีโนไทป์เหล่านี้ ไวรัสซาโป GI.1 เป็นจีโนไทปีที่พบมากที่สุดตามด้วย GI.2 และ GII.15 สำหรับการจำแนกเชื้อแบบสองระบบของไวรัสโนโร GII นั้น พบว่า สามารถพิ่มปริมาณสารพันธุกรรมในส่วน RdRp/VP1 โดยวิธี semi-nested PCR ได้สำเร็จ ใน 64 สายพันธุ์จากจำนวน เชื้อไวรัสโนโรจำนวน 124 สายพันธุ์ที่พบในการศึกษาครั้งนี้และไวรัสโนโร GII.4 Sydney 2012[P16] พบได้มากที่สุด ตามด้วย GII.3 [P12], GII.4 Sydney 2012[P31], GII.2[P16], GII.12[P16], GII.6[P7], GII.17[P17], และ GII.7[P7] สรุปได้ว่า การศึกษานี้แสดงให้เห็นถึงความชุกและความหลากหลายทางพันธุกรรมของเชื้อไวรัสโนโรและเชื้อไวรัสซาโปที่มีการติดเชื้อในเด็กที่ป่วยด้วยโรคกระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบเฉียบพลันในจังหวัดเชียงใหม่ของประเทศไทยระหว่างปี ค.ศ. 2019 ถึงปี ค.ศ. 2020 และพบการระบาคของเชื้อไวรัสโนโร GII.3 ในปี ค.ศ. 2019en_US
Appears in Collections:MED: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620731005 พิชชากร เพ็งมา.pdf3.09 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.