Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79411
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorVleeschauwer, Jan Theo De-
dc.contributor.advisorRongkakorn Anantasanta-
dc.contributor.advisorKorakot Jairak-
dc.contributor.authorLi, Zhouzhouen_US
dc.date.accessioned2024-01-14T10:22:19Z-
dc.date.available2024-01-14T10:22:19Z-
dc.date.issued2023-10-26-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79411-
dc.description.abstractThis thesis explores the researcher's contemporary ceramic artwork based on flowers, insects, seeds, and fruits, from which the researcher extracts geometric language as the natural basis for creating his works. Using clay from Jingdezhen, China, traditional handmade ceramic molding methods, and high-purity colors, such as bright red, orange-yellow, deep blue, brilliant purple, and other colors of the original glaze, give the works visual vitality and contrast. In addition, the sputtering process combines the mirror metal texture to form a visual impact and contradictory texture of the works. The whole group of works emphasizes a kind of danger by weakening the softness of nature, the sharp lines and corners in the form, and tries to create a kind of artificial natural beauty through the contrast of highly saturated color and mirror metal texture to present the complex relationship between human-nature-society in the process of industrialization. This way of creation makes the work a contradictory carrier with natural and industrial technological attributes. As a whole, Natural Communication emphasizes the communication between real and artificial nature. In modern society, human activities have caused many impacts on the natural environment and, at the same time, have given rise to the existence of artificial nature. The work emphasizes the communication and interaction between artificial and genuine nature through creative expression. By exploring the relationship between human beings and nature, the work tries to arouse the viewer to think about the interaction and dependence between human beings and nature and to advocate respecting and cherishing communication and interaction with the natural world. At the same time, the works also reflect the communication between the creators and nature. Taking inspiration from natural elements, the creators use unique forms and colors to express the beauty and diversity of nature, trying to talk to nature in the language of art. Through this creative process, the work conveys respect for and exploration of nature, allowing the viewer to experience the close interaction between the creator and nature. The results of this study will provide a way of aesthetics and understanding of the natural world while also emphasizing the importance of interaction between humans and nature for sustainable development and ecological balance.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectศิลปะร่วมสมัยen_US
dc.subjectเซรามิกส์en_US
dc.subjectธรรมชาติเทียมen_US
dc.subjectกระบวนการสปัตเตอร์en_US
dc.subjectสีสดสะอาดen_US
dc.subjectContemporary Arten_US
dc.subjectCeramicsen_US
dc.subjectArtificial Natureen_US
dc.subjectSputtering Processen_US
dc.subjectHigh purity colorsen_US
dc.titleDevelopment of contemporary ceramics art to present the contrast between artificial and actual natureen_US
dc.title.alternativeพัฒนาการของศิลปะเซรามิกร่วมสมัยเพื่อนำเสนอความขัดแย้งระหว่างธรรมชาติเทียมกับธรรมชาติจริงen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshContemporary, The, in art-
thailis.controlvocab.lcshArt, Modern--21st century-
thailis.controlvocab.lcshPottery-
thailis.controlvocab.lcshCeramic sculpture-
thailis.controlvocab.lcshCeramics-
thailis.controlvocab.lcshBiotic communities-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractศิลปนิพนธ์ชุดนี้เป็นการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะเซรามิกสมัยใหม่ โดยมีฐานแห่งแนวความคิดมาจากสิ่งที่ปรากฏอยู่ในธรรมชาติ เช่น แมลง เมล็ดพันธุ์พืช และผลไม้ ซึ่งผู้เขียนได้นำรูปทรงเรขาคณิตมาใช้เป็นโครงสร้างหลักในการประกอบสร้างผลงานศิลปะเซรามิกจากแนวคิดส่วนตน ในผลงานชุดนี้สร้างสรรค์ขึ้นด้วยดินเหนียวจากแหล่ง “จิงเต๋อเจิ้น” (Jingdezhen) ที่มีชื่อเสียงจากประเทศจีนเป็นวัตถุดิบหลัก ผ่านขั้นตอนและกระบวนการปั้นขึ้นรูปสร้างสรรค์เป็นผลงานศิลปะเซรามิกด้วยมือแบบดั้งเดิม กำหนดให้มีสีสันที่เข้มสดและจัดจ้าน เช่น สีแดงสด สีส้มสด สีน้ำเงินเข้ม สีม่วงเข้ม และสีอื่นๆจากตัวเคลือบดั้งเดิม เพื่อส่งเสริมให้ผลงานศิลปะเซรามิกมีชีวิตชีวาผ่านสีสันที่ตัดกันอย่างฉูดฉาด รวมไปถึงการสร้างพื้นผิวด้วยวิธี “สปัตเตอร์” (Sputter) เพื่อให้ผิวภายนอกเกิดลักษณะมันวาวราวกับกระจกเงา ซึ่งจะร่วมกันสร้างผลกระทบที่มีต่อการมองเห็นผ่านลักษณะร่องรอยของพื้นผิวที่มีความแตกต่างกันอย่างชัดเจนบนตัวผลงานศิลปะเซรามิก ผลงานศิลปะเซรามิกในชุดนี้นำเสนอโดยมุ่งเน้นให้เห็นถึงภัยอันตราย ด้วยการลดทอนโครงสร้างของเส้นและสี รวมถึงความแหลมคมของเหลี่ยมมุมต่างๆ จากรูปทรงธรรมชาติลงไป พยายามสร้างความงามจากธรรมชาติเทียมผ่านผลงานเซรามิกที่มีสีสันสดเข้ม ร่วมกับพื้นผิวภายนอกของผลงานที่มีความมันวาวราวกับกระจกเงา เพื่อนำเสนอความสัมพันธ์ที่ซับซ้อนร่วมกันระหว่างมนุษย์ ธรรมชาติและสังคมที่ล้วนแล้วแต่อยู่ในกระบวนการอุตสาหกรรม โดยได้ทำการประกอบสร้างผลงานศิลปะเซรามิกร่วมสมัยเพื่อร่วมสร้างความหมายและนำเสนอความขัดแย้งของธรรมชาติและเทคโนโลยีสมัยใหม่ ศิลปนิพนธ์ชุดนี้นำเสนอด้วยการเน้นย้ำให้เห็นถึงการสื่อสารระหว่างธรรมชาติที่แท้จริง และธรรมชาติเทียมที่ปรากฏอยู่ในสังคมสมัยใหม่ กิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ได้สร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในธรรมชาติอย่างมากมาย ในขณะเดียวกันมนุษย์เองก็สร้างธรรมชาติเทียมขึ้นมา ผลงานในชุดนี้จึงมุ่งเน้นเพื่อต้องการสื่อสารและโต้ตอบระหว่างธรรมชาติเทียมกับธรรมชาติที่แท้จริงผ่านผลงานสร้างสรรค์ในรูปแบบของผลงานศิลปะเซรามิก ด้วยการศึกษาค้นคว้าข้อมูลของความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และธรรมชาติ เพื่อสร้างแรงกระตุ้นให้ผู้ชมเกิดการตระหนักรู้ถึงปฏิสัมพันธ์ การพึ่งพาอาศัยกันระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติแวดล้อม ส่งเสริมให้เกิดการอนุรักษ์และหวงแหน เห็นคุณค่าของธรรมชาติที่มีความสัมพันธ์ต่อการดำรงชีวิตและมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกันในธรรมชาติ ในขณะเดียวกันผลงานศิลปะเซรามิกชุดนี้ ผู้เขียนยังต้องการสะท้อนให้เห็นถึงการสื่อสาร ระหว่างตนเองและธรรมชาติ โดยมีแรงบันดาลใจจากองค์ประกอบทางธรรมชาติที่ถูกกำหนดสร้างผ่านรูปแบบและสีสันที่มีอัตลักษณ์ นำเสนอความงามและความหลากหลายของธรรมชาติที่สื่อสารแนวคิดผ่านกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานศิลปนิพนธ์ชุดนี้เพื่อร่วมกันทำงานและถ่ายทอดความหมาย สื่อถึงการเคารพรัก หวงแหนในธรรมชาติ ส่งเสริมให้ผู้ชมได้มีโอกาสสัมผัส ประสบการณ์และรับรู้ถึงปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นอย่างใกล้ชิดระหว่างผู้เขียนกับธรรมชาติ ผลที่ได้รับจากผลงานศิลปนิพนธ์ในชุดนี้เปิดโอกาสให้วิธีการทางสุนทรียศาสตร์เป็นแนวทางที่จะนำไปสู่ความเข้าใจและการอยู่อาศัยร่วมกับธรรมชาติได้อย่างเข้าใจและมีความสงบสุข พร้อมกับการเห็นถึงความสำคัญของการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และธรรมชาติ เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนและรักษาสมดุลของระบบนิเวศสืบไปen_US
Appears in Collections:FINEARTS: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630351017 - ZHOUZHOU LI.pdf80.64 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.