Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79396
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorLachana Ramingwong-
dc.contributor.authorณัฐสินี ตั้งศิริไพบูลย์en_US
dc.date.accessioned2024-01-11T10:08:49Z-
dc.date.available2024-01-11T10:08:49Z-
dc.date.issued2023-11-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79396-
dc.description.abstractOur study presents the 'Direction' game as a tool for assessing the risk of reading difficulties in young children. This game evaluates directional confusion in three aspects: up-down, left-right, and cardinal directions, which is advantageous for pre-literate children as it does not rely on language skills. In this research, we conducted tests with 102 children, both boys and girls, aged between 7 and 10 years, studying at Ban Pong Sanuk School in Lampang Province. The children were divided into two groups: 59 children in the at-risk group and 43 children without identified risks. In the experiment, the experiment was divided into 2 periods: 1) pilot study t with a sample size of 24 people by collecting a questionnaire to bring the paper-based game to children to try and ask about their satisfaction in playing the game and 2) the main study test. The game was tested on a sample size of 102 individuals and the results were analyzed using a component classification model. The performance of this proposed model will be compared with other models including Naive Bayes, Support Vector Machine (SVM), AdaBoost, and Random Trees (RT) to assess the performance of the new model. The results of the experiment revealed that children were able to play our game without needing someone to teach them. They felt more like they were playing a game rather than being tested or evaluated and did not feel isolated from their peers. 85% of the children who were tested reported this experience. Additionally, the children enjoyed playing our game, with 90% of the tested children expressing a liking for it. Regarding the evaluation of reading disability risk among the sample group of 102 children, the implemented framework and procedures proved to be effective in improving the accuracy of risk assessment. In particular, the combined ensemble model of Random Trees (RT) and Support Vector Machine (SVM) demonstrated a screening efficiency of up to 86% and an area under the ROC curve of 82%. These results indicate that the model is proficient in assessing the risk of reading disabilities and enhances the screening performance. Additionally, incorporating mouse movement variables, such as fixation duration and the number of duplicate points, increased the accuracy of the assessment to over 70%. These variables are crucial in detecting deficiencies in organizational skills and attention in children at risk of reading difficulties. In analyzing the behavior of children in at-risk and normal groups while playing the 'Direction' game, it was found that children in the at-risk group were more prone to making mistakes due to hesitation and difficulties in following instructions. However, their mouse movement speed was similar to that of the normal group, indicating that their overall game-playing abilities were not significantly different. Despite this, children in the normal group generally scored better.en_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleDiagnosing risk of Dyslexia Based on the analysis of mouse tracking data and human computer interaction measuresen_US
dc.title.alternativeการประเมินความเสี่ยงในการเป็นโรคดิสเลกเซียโดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลการติดตามเมาส์และการวัดทางปฏิสัมพันธ์ระหว่างคอมพิวเตอร์และมนุษย์en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshVideo games-
thailis.controlvocab.lcshLearning disabled children-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาของเราได้นำเสนอเกม 'Direction' ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินความเสี่ยงของการเป็นเด็กบกพร่องทางการอ่าน ตั้งแต่วัยเยาว์ เกมนี้ทำการประเมินความสับสนทางทิศทางในสามแง่มุม: ขึ้น-ลง, ซ้าย-ขวา, และทิศทางหลัก ซึ่งเป็นประโยชน์กับเด็กที่ยังไม่เรียนอ่านเพราะไม่ต้องพึ่งพาทักษะด้านภาษา ในงานวิจัยนี้ได้ทำการทดสอบกับเด็กจำนวน 102 คนไม่จำกัดเพศชายหญิง มีอายุระหว่าง 7 – 10 ปี ศึกษาอยู่ระดับชั้นประถมศึกษา โรงเรียนบ้านปงสนุก จังหวัดลำปาง โดยแบ่งเด็กออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มมีความเสี่ยง จำนวน 59 คน และกลุ่มเด็กไม่มีความเสี่ยง จำนวน 43 คน ในการทดลองได้แบ่งการทดลองเป็น 2 ช่วงคือ 1) การทดสอบเบื้องต้นกับกลุ่มตัวอย่างขนาด 24 คนโดยการเก็บแบบสอบถามนำเกมที่อยู่ในรูปกระดาษมาให้เด็กได้ทดลองใช้งานและถามความพึงพอใจในการเล่นเกมของเด็ก 2) การทดสอบหลัก เกมได้ถูกทดสอบกับกลุ่มตัวอย่างขนาด 102 รายและวิเคราะห์ผลโดยใช้โมเดลการจำแนกองค์ประกอบ ประสิทธิภาพของโมเดลที่เสนอนี้จะถูกเปรียบเทียบกับโมเดลอื่น ๆ รวมถึง Naive Bayes, Support Vector Machine (SVM), AdaBoost, และ Random Trees (RT) เพื่อประเมินประสิทธิภาพของโมเดลใหม่ ผลการทดลองพบว่าเด็กสามารถเล่นเกมของเราได้โดยไม่ต้องมีคนคอยสอน และเด็กๆ รู้สึกว่าพวกเขากำลังเล่นเกมอยู่มากกว่ารู้สึกว่าถูกทดสอบหรือประเมิน และไม่รู้สึกแปลกแยกจากเพื่อน โดยผลลัพทธ์อยู่ที่ 85% ของเด็กที่รับการทดสอบทั้งหมด และเด็กชอบเล่นเกมของเรา ผลลัพธ์อยู่ที่ 90% ของเด็กที่รับการทดสอบทั้งหมด ผลในการประเมินความเสี่ยงทางการอ่านของกลุ่มตัวอย่าง 102 คนพบว่า กรอบวิธีและขั้นตอนของเราสามารถทำตามและเพิ่มประสิทธิภาพให้ค่าความแม่นยำในการประเมินความเสี่ยงทางการอ่านของเด็ก โดยเฉพาะในการรวมกันระหว่าง Support Vector Machine (SVM) และ Random Trees (RT) ที่แสดงความมีประสิทธิภาพในการคัดกรองถึง 86% และค่าพื้นที่ใต้เส้นกราฟ ROC อยู่ที่ 82% ซึ่งบ่งบอกถึงความสามารถในการประเมินความเสี่ยงทางการอ่านของเด็กบกพร่อง และทำให้ประสิทธิภาพในการคัดกรองเพิ่มขึ้น การเพิ่มตัวแปรด้านการเคลื่อนไหวของเมาส์ เช่น ระยะเวลาการจ้องและจุดที่ซ้ำ ทำให้ความแม่นยำของการประเมินเพิ่มขึ้นกว่า 70% ตัวแปรเหล่านี้มีความสำคัญในการตรวจจับข้อบกพร่องด้านทักษะการจัดระเบียบและความสนใจในเด็กที่มีความเสี่ยงต่อเด็กบกพร่องทางด้านการอ่าน ในการวิเคราะห์พฤติกรรมของเด็กในกลุ่มเสี่ยงและปกติจากการเล่นเกม 'Direction' พบว่าเด็กในกลุ่มเสี่ยงมีแนวโน้มทำผิดพลาดมากกว่าเนื่องจากความลังเลและความยากลำบากในการทำตามคำแนะนำ อย่างไรก็ตาม ความเร็วในการเคลื่อนไหวเมาส์ใกล้เคียงกับกลุ่มปกติ แสดงให้เห็นว่าความสามารถในการเล่นเกมไม่แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ แม้ว่าเด็กกลุ่มปกติมักได้คะแนนดีกว่าก็ตามen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590651016-ณัฐสินี ตั้งศิริไพบูลย์.pdfDiagnosing Risk of Dyslexia Based on The Analysis of Mouse Tracking Data and Human Computer Interaction Measures.2.86 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.