Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79395
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorNongyao Nawarat-
dc.contributor.advisorPisith Nasee-
dc.contributor.advisorKwanchewan Buadang-
dc.contributor.authorPhisit Rojkanarachen_US
dc.date.accessioned2024-01-11T10:08:00Z-
dc.date.available2024-01-11T10:08:00Z-
dc.date.issued2023-10-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79395-
dc.description.abstractThe study "Ethnic Identity Construction and Reconstruction Practices in Galyani Vadhana District Schools, Chiang Mai Province" is a qualitative research aimed at investigating the practices of constructing and reconstructing ethnic identity within the context of educational institutions. It delves into how these practices occur, the conditions and variables influencing them, and examines the potential changes they bring to students, schools, and communities. Data collection involved a combination of document analysis and semi-structured interviews. Researchers conducted fieldwork between May 1, 2021, and October 31, 2021. The emphasis is directed towards a target group derived from five schools, with information primarily sourced from four key informant groups: 1) school principals, 2) teachers, 3) students, and 4) community members involved in education. This study utilized three main concepts as analytical tools: 1) Identity Construction, 2) Community of Practice, and 3) Culturally Responsive Pedagogy. The findings revealed that schools in Galyani Vadhana District, Chiang Mai Province, engage in practices of ethnic identity construction and reconstruction within their premises. The research categorized the levels of these practices into three: 1) Extensive, 2) Moderate, and 3) Minimal or None. Among the five schools investigated, three exhibited Extensive practices of ethnic identity reconstruction, while two operated at a moderate level. Schools with Extensive practices typically had: 1) critical practitioners with knowledge and understanding of the significance of ethnic identity, 2) established Community of Practice within the community, consisting of like-minded individuals aiming for ethnic identity reconstruction regardless of being school staff or community members, and 3) developed curricula meeting community needs grounded in local culture, such as indigenous music or ethnic history lessons. These practices led to significant changes for students, schools, and communities, fostering pride in their roots, supporting livelihoods through local knowledge, and influencing the insertion of ethnic identity in school curricula. In the two schools with moderate-level practices, aside from lacking conditions for the aforementioned practices, three additional reasons were identified: 1) the absence of incorporating ethnic identity into the school curriculum, 2) a lack of lead practitioners understanding the importance of local ethnic identity, and 3) a lack of political power in schools.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleThe Practices of construction and reconstruction of ethnicity, Galyani Vadhana’s District Schools, Chiang Mai Provinceen_US
dc.title.alternativeปฏิบัติการสร้างและรื้อฟื้นความเป็นชาติพันธุ์ในพื้นที่โรงเรียน อำเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshEthnic groups -- Education-
thailis.controlvocab.lcshEthnic groups -- Galyani Vadhana (Chiang Mai)-
thailis.controlvocab.lcshEthnicity-
thailis.controlvocab.lcshGroup identity-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเรื่อง “ปฏิบัติการสร้างและรื้อฟื้นความเป็นชาติพันธุ์ในพื้นที่โรงเรียน อำเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่” เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาพลถึงปฏิบัติการสร้างและรื้อฟื้นความเป็นชาติพันธุ์ ในบริบทสถานศึกษาว่ามีปฏิบัติการเกิดขึ้นอย่างไร มีอะไรเป็นเงื่อนไขและตัวแปรในการเกิดปฏิบัติการ และศึกษาว่าปฏิบัติการที่เกิดขึ้นจะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงอย่างไรต่อทั้งผู้เรียน สถานศึกษา และชุมชน มีการศึกษาเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งภาคเอกสารและภาคสนามด้วยวิธีสังเกตการณ์และสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง ผู้วิจัยได้ลงพื้นที่เก็บข้อมูลในช่วงเวลา 1 พฤษภาคม 2564-31 ตุลาคม 2564 โดยเน้นเป้าหมายไปยังกลุ่มตัวอย่างจากโรงเรียนห้าโรงเรียน และมีผู้ให้ข้อมูลหลักทั้งหมดสี่กลุ่ม ได้แก่ 1) ผู้บริหารสถานศึกษา 2)ครู 3) นักเรียน และ 4)คนในชุมชนที่ศึกษา ในการศึกษาครั้งนี้ได้ใช้สามแนวคิดหลักเป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์ปรากฏการณ์ได้แก่ 1) Identity Construction 2) Community of Practice และ 3) Culturally Responsive Pedagogy ผลการศึกษา พบว่า โรงเรียนในเขตอำเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่ มีปฏิบัติการสร้างและรื้อฟื้นความเป็นชาติพันธุ์อยู่ในสถานศึกษา โดยในการวิจัยนี้ได้แบ่งระดับของปฏิบัติการออกเป็นสามระดับ ได้แก่ 1) เข้มข้น 2) ปานกลาง และ 3) น้อยมากหรือไม่มีเลย โดยจากห้าโรงเรียนที่ได้ลงพื้นที่เก็บข้อมูล มีอยู่สามโรงเรียนที่มีปฏิบัติการรื้อสร้างความเป็นชาติพันธุ์อยู่ในระดับเข้มข้น และมีสองโรงเรียนที่มีปฏิบัติการอยู่ในระดับปานกลาง ในสถานศึกษาที่มีปฏิบัติการอย่างเข้มข้น จะประกอบไปด้วย 1) ผุ้ปฏิบัติการหลักอันเป็นผู้มีความรู้ ความเข้าใจ ถึงความสำคัญของอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ 2) มีการสร้าง Community of Practice เกิดขึ้นในชุมชน โดยเป็นการรวมตัวของผู้ที่มีอุดมการณ์ในการรื้อฟื้นความเป็นชาติพันธุ์เหมือนกัน ไม่จำกัดว่าจะต้องเป็นบุคลากรในสถานศึกษาหรือพื้นที่ และ 3) มีการสร้างหลักสูตรที่ตอบสนองความต้องการของชุมชนโดยใช้วัฒนธรรมท้องถิ่นเป็นฐาน เช่น การเล่นดนตรีพื้นเมือง การเรียนประวัติศาสตร์ชนเผ่า ปรากฏการดังกล่าวที่เกิดขึ้นในสถานศึกษาได้ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงทั้งต่อผู้เรียน สถานศึกษา และชุมชน ก่อให้เกิดความภาคภูมิใจในรากเหง้าของตัวเอง ส่งเสริมการประกอบอาชีพโดยใช้องค์ความรู้ท้องถิ่น และช่วยขับเคลื่อนหลักสูตรสถานศึกษาที่สอดแทรกความเป็นชาติพันธุ์ ในสองโรงเรียนที่มีปฏิบัติการอยู่ในระดับปานกลาง นอกเหนือไปจากขาดเงื่อนไขในการสร้างปรากฏการข้างต้นแล้ว ยังมีอีกสามสาเหตุได้แก่ 1) ขาดการนำเอาอัตลักษณ์ความเป็นชาติพันธุ์มาแทรกในหลักสูตรสถาน 2) ขาดผู้นำปฏิบัติการณ์ที่มีความเข้าใจถึงความสำคัญของอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ท้องถิ่น 3) ขาดอำนาจทางการเมืองในสถานศึกษาen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600252001 Phisit Rojkanarach.pdf1.52 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.