Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79378
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorThaned Rojsiraphisal-
dc.contributor.authorKrittaporn Buathongen_US
dc.date.accessioned2024-01-05T05:43:48Z-
dc.date.available2024-01-05T05:43:48Z-
dc.date.issued2023-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79378-
dc.description.abstractIn this thesis, we propose a novel oceanic index based on sea surface height anomaly (SSHA) to forecast rainfall in each region of Thailand. We first investigate lead-lag relationships between some of the well-known oceanic and atmospheric indices, commonly used for studying, and rainfall in each region. We next investigate spatial and temporal variations of SSHA variability in the South China Sea over the period of January 1993 to December 2022 using Empirical Orthogonal Function (EOF) analysis. Results of the EOF analysis show high and low oscillation patterns in the studied region along with their associated Principal Component (PC) time series. The 2nd PC time series shows significantly strong correlation with the rainfall in each region. However, the direct use of PC time series are computationally costly. Instead, we use SSHA information within the dominant regions, which show high variances observed in the 2nd mode of EOF analysis. Results of EOF lead a way to create a new oceanic index called the South China Sea Index (SCSI). We then explore the correlation between this new index and the rainfall in each region of Thailand. Results show that the SCSI has strong correlation with rainfall in each region. To forecast rainfall in each region in Thailand, we formulate models using the Seasonal Autoregressive Integrated Moving Averages with Exogenous Variables (SARIMAX) model by combining the oceanic and atmospheric indices used in studying climate change with a novel time series-index based on SSHA developed in this study. The results of this research will help predict monthly regional Thailand's rainfall, leading to a better understanding of rainfall variations in each region of Thailand.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectNorthern Thailand rainfall, South China Sea, Empirical Orthogonal Function (EOF) analysis, sea surface height, ENSOen_US
dc.titleA novel oceanic index derived from sea surface height in the South China Seaen_US
dc.title.alternativeดัชนีมหาสมุทรแบบใหม่จากความสูงผิวน้ำทะเลในทะเลจีนใต้en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshSouth China Sea-
thailis.controlvocab.lcshOcean-
thailis.controlvocab.lcshSurfaces-
thailis.controlvocab.meshRainfall probabilities-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractในวิทยานิพนธ์นี้ เรานำเสนอดัชนีมหาสมุทรแบบใหม่จากความสูงผิวน้ำทะเลผิดปกติ เพื่อทำนายปริมาณฝนในแต่ละภูมิภาคของประเทศไทย โดยเราจะเริ่มต้นการวิจัยด้วยการตรวจสอบความสัมพันธ์แบบมีความล่าช้าระหว่างดัชนีมหาสมุทรและดัชนีบรรยากาศที่นิยมใช้ศึกษาการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศและปริมาณฝนในแต่ละภูมิภาค ต่อมาเราได้ตรวจสอบความแปรปรวนเชิงพื้นที่และเวลาของความสูงผิวน้ำทะเลผิดปกติในทะเลจีนใต้โดยใช้การวิเคราะห์ฟังก์ชันเชิงประจักษ์ตั้งฉากในช่วงเวลาตั้งแต่มกราคม พ.ศ. 2536 ถึง ธันวาคม พ.ศ. 2565 ผลลัพธ์ของการวิเคราะห์ฟังก์ชันเชิงประจักษ์ตั้งฉากแสดงรูปแบบการกวัดแกว่งสูงและต่ำในพื้นที่ที่ศึกษาพร้อมกับชุดข้อมูลอนุกรมเวลาขององค์ประกอบหลักที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่าชุดข้อมูลอนุกรมเวลาพีซี 2 แสดงความสัมพันธ์สูงกับปริมาณฝนในแต่ละภูมิภาค แต่อย่างไรก็ตามการใช้ชุดข้อมูลอนุกรมเวลาโดยตรงเพื่อพยากรณ์ปริมาณน้ำฝนต้องใช้เวลาในการคำนวณมาก ดังนั้นเราจึงใช้ข้อมูลความสูงผิวน้ำทะเลผิดปกติในบริเวณที่แสดงความแปรปรวนของความสูงผิวน้ำทะเลสูงซึ่งสังเกตได้ในโหมดที่ 2 ของการวิเคราะห์ฟังก์ชันเชิงประจักษ์ตั้งฉาก เพื่อสร้างดัชนีมหาสมุทรแบบใหม่ที่เรียกว่า ดัชนีทะเลจีนใต้ จากนั้นได้ตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างดัชนีใหม่นี้กับปริมาณฝนในแต่ละภูมิภาคของประเทศไทย พบว่าดัชนีที่นำเสนอนี้มีความสัมพันธ์กับปริมาณฝนในภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศไทยในระดับสูง จากนั้นเราได้สร้างตัวแบบค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่แบบรวมการถดถอยอัตโนมัติตามฤดูกาลรวมตัวแปรภายนอก โดยนำดัชนีมหาสมุทรและดัชนีบรรยากาศที่นิยมใช้ศึกษาการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศรวมทั้งดัชนีเวลาใหม่ของความสูงผิวน้ำทะเลผิดปกติที่พัฒนาขึ้นในการศึกษานี้มาเป็นตัวแปรภายนอกสำหรับสร้างตัวแบบเพื่อทำนายปริมาณฝนในแต่ละภูมิภาค ผลลัพธ์ของงานวิจัยนี้จะช่วยให้สามารถคาดการณ์ปริมาณฝนในแต่ละเดือนของภูมิภาคต่าง ๆ ในประเทศไทย รวมทั้งทำให้เกิดความเข้าใจมากขึ้นเกี่ยวกับความแปรปรวนของปริมาณฝนในแต่ละภูมิภาคของประเทศไทยได้en_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630531062-กฤตพร บัวทอง.pdfedit 126.67 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.