Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79363
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorThongchai Phuwanatwichit-
dc.contributor.advisorCharin Mangkhang-
dc.contributor.advisorAtchara Kerdtep-
dc.contributor.authorKhwandaw Pinthongpunthen_US
dc.date.accessioned2024-01-02T17:18:54Z-
dc.date.available2024-01-02T17:18:54Z-
dc.date.issued2022-02-24-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79363-
dc.description.abstractThe objectives of this research were 1) to study the basic information about the creative learning model to enhance the identity of social studies teacher students; 2) to create the creative learning model through community resources to enhance the identity of the social studies teacher students. 3) To study the effectiveness of creative learning models through community resources to enhance Identity for Social Studies Teacher Professional Students The sample group used in this research with the 4th year social studies teacher professional student in the second semester of the academic year 2020. The instruments used in the research consisted of: A form of analysis of documents used in the study of the need to develop a creative learning model, 1 issue; interview form with those involved in teaching and learning management in the course of Social Studies Learning Management. It consists of social studies teacher professional students who have studied in the aforementioned courses. Creative Learning Style Guide learning unit Activity Design Ability Assessment Form learning from learning sources by using community resources 2) A form for assessing characteristics of social studies teachers 3) A record form reflecting the learning outcomes of students 4) An observation form and a record form for student learning management behavior towards Using a creative learning model through community resources Data were analyzed for mean( x̅ ), standard deviation (S.D) and efficiency (E1/E2). The results showed that 1. The results of a study of information on creative learning models to enhance identity for social studies teacher students by a model that can be further developed and applied to learners to improve their knowledge Skills and competencies necessary for modern teaching and learning management to support learners and teachers amid the rapid changes in society, environment, economy and technology affecting learning and teaching. learning style That can be transferred or developed to the learners. The first factor that creates understanding for teachers and students is to understand the basic information of local educational institutions for the locality. Produce graduates to return to society 2. The results of creating a creative learning model through community resources to enhance identity for social studies teacher students As a guideline for teaching and learning management for students in the field of social studies for a creative learning model through community resources Implemented the steps of the KIC PAC Model as step 1: Knowledge and Awareness (K) step 2: Interaction Help each other learn (Interaction and Nurturant Effects : I) step 3: Creating a work (Construction : C) step 4: Presentation (Presentation: P), step 5: Assessment and Reflection (A) and step 6: Follow- up Supervision (Coaching: C). The 6" step stage through resources. The community is a learning center for the community to participate in planning, collective thinking, participating in practice, assessing, sharing, disseminating knowledge. public relations Join the pride and take responsibility for the creative learning model. Through community resources, taking into account four elements, namely community, learning management, design, assessment, through learning management according to the KIC PAC Model, in which social studies teachers students can practice and solve problems encountered in the community. by learning a variety get creative work learning activities as well as to use while practicing professional teacher experience 3. The results of evaluating the efficiency of the creative learning model through community resources (KIC PAC Model) according to the E1 / E2 criteria with the samples used in this research. The efficacy of the creative learning model through community resources was 81.25/80.59 , which met the criterion. E1 was obtained from activities during each unit of learning was 81.25 and E2 was scored from doing activities. The assessment form using the creative learning model through community resources was 80.59en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectCreative Learning Modelen_US
dc.titleDevelopment of a creative learning model through community resources to enhance identity of social studies student teachersen_US
dc.title.alternativeการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ผ่านทรัพยากรชุมชนเพื่อเสริมสร้างอัตลักษณ์ของนักศึกษาวิชาชีพครูสังคมศึกษาen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshSocial studies -- Study and teaching-
thailis.controlvocab.lcshTeachers -- Training of-
thailis.controlvocab.lcshLearning-
thailis.controlvocab.lcshSocial studies teachers-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัดถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับรูปแบบการเรียนรู้เชิง สร้างสรรค์เพื่อเสริมสร้างอัตลักษณ์ของนักศึกษาวิชาชีพครูสังคมศึกษา 2) เพื่อสร้างรูปแบบการเรียนรู้ เชิงสร้างสรรค์ผ่านทรัพยากรชุมชนเพื่อเสริมสร้างอัตลักษณ์สำหรับนักศึกษาวิชาชีพครูสังคมศึกษา 3) ศึกษาประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ผ่านทรัพยากรชุม ชนเพื่อเสริมสร้าง อัตลักษณ์สำหรับนักศึกษาวิชาชีพครูสังคมศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักศึกษาวิชาชีพครู สังคมศึกษาชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบวิเครา ห์เอกสารที่ใช้ในการศึกษาความต้องการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ จำนวน ฉบับ แบบสัมภาษณ์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาการจัดการเรียนรู้สังคม ศึกษา ประกอบด้วยนักศึกษาวิชาชีพครูสังคมศึกษาที่เคยเรียนในรายวิชาคังกล่าว คู่มือการใช้รูปแบบ การเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ หน่วยการเรียนรู้ แบบประเมินความสามารถในการออกแบบกิจกรรม การเรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้โดยใช้ทรั พยากรชุมชน 2 แบบประเมินคุณลักษณะของครูสังคมศึกษา 3) แบบบันทึกสะท้อนผลการเรียนรู้จากการเรียนรู้ของนักศึกษา 4) แบบสังเกตและบันทึกพฤติกรรม การจัดการเรียนรู้ของนักศึกษาที่มีต่อการใช้รูปแบบการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ผ่านทรัพยากรชุมชน วิเคราะห์ข้อมูลการหาค่าเฉลี่ย( x̅ ) ค่าเยี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) และ หาประสิทธิภาพ (E1 /E2) ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการศึกษาข้อมูลรูปแบบ การเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์เพื่อเสริมสร้างอัตลักษณ์สำหรับ นักศึกษาวิชาชีพครูสังคมศึกษา โดยรูปแบบที่สามารถพัฒนาต่อยอดได้และนำไปพัฒนาใช้กับผู้เรียน เพื่อพัฒนาค้านความรู้ ทักษะและสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับการจัดการเรียนการสอนในยุคปัจจุบัน เพื่อรองรับสำหรับผู้เรียนและผู้สอนท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของสังคม สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและ เทคโนโลยีอย่างรวดเร็วที่มีผลกระทบต่อการเรียนรู้และการสอน รูปแบบการเรียนรู้ที่สามารถนำไป ถ่ายทอดหรือพัฒนาก่อเกิดกับผู้เรียนได้นั้นปัจจัยรกที่สร้างความเข้าใจต่อผู้สอนและนักศึกษาคือการ เข้าใจข้อมูลพื้นฐานของสถาบันการศึกษาของท้องถิ่นเพื่อท้องถิ่น ผลิตบัณฑิตคืนสู่สังคม 2. ผลการสร้างรูปแบบการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ผ่านทรัพยากรชุมชนเพื่อเสริมสร้างอัตลักษณ์ สำหรับนักศึกษาวิชาชีพครูสังคมศึกษา เพื่อเป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษา สาขาสังคมศึกษา สำหรับรูปแบบการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ผ่านทรัพยากรชุมชน ดำเนินการตาม ขั้นตอน KIC PAC Mode! ได้แก่ ขั้นที่ 1 การให้ความรู้และการสร้างความตระหนัก (Knowledge and Awareness : K) ขั้นที่ 2 การปฏิสัมพันธ์ ช่วยกันเรียนรู้ (Interaction and Nurturant Effects : 1) ขั้นที่ 3 การสร้างผลงาน (Construction : C) ขั้นที่ 4 การนำเสนอผลงาน (Presentation : P) ขั้นที่ 5 การประเมินผลการเรียนรู้และการสะท้อนกลับ (Assessment and Reflection : A) และ ขั้นที่ 6 นิเทศ คิดตามโดยใช้กระบวนการ (Coaching : C) โดยกำหนคให้ที่ 6 ขั้นตอนนี้ โดยผ่านทรัพยากรชุมชน เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในลักษณะการวางแผน รวมคิด ร่วมปฏิบัติ ร่วมประเมิน ร่วมเผยแพร่ ถ่ายทอคความรู้ ประชาสัมพันธ์ ร่วมความภาคภูมิใจ รับผิชอบ สำหรับรูปแบบการเรียนรู้ เชิงสร้างสรรค์ ผ่านทรัพยากรชุมชนคำนึงองค์ประกอบ 4 ด้าน ได้แก่ ชุมชน การจัดการเรียนรู้ ออกแบบ ประเมิน โดยจัดการเรียนรู้ตามขั้นของ KIC PAC Mode! ซึ่งนักศึกบาวิชาชีพครูสังคมศึกษา ลงมือปฏิบัติจริงและแก้ปัญหาที่พบเจอในชุมชนได้ โคยการเรียนรู้ที่หลากหลาย ได้ขึ้นงานที่ สร้างสรรค์ การจัดกิจกรรมกรเรียนรู้ ตลอดจนนำไปใช้ในขณะฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู 3. ผลการหาค่าประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ ผ่านทรัพยากรชุมชน (KIC PAC Model) ตามเกณฑ์ E1 / E2 กับกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ไนการวิจัยครั้งนี้ ได้ค่าสัมประสิทธิภาพ ของรูปแบบกรเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ผ่านทรัพยากรชุมชน ท่กับ 81.25/80.59 ซึ่งยอมรับเกณฑ์ ซึ่ง E1 ได้จากคะแนนได้จากการทำกิจกรรมระหว่างเรียนแต่ละหน่วยการเรียนรู้ เท่ากับ 81.25 และ E2 คะแนนที่ได้จากการทำแบบประเมิน โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ผ่านทรัพยากรชุมชน เท่ากับ 80.59en_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590252036 ขวัญดาว ปิ่นทองพันธุ์.pdf24.83 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.