Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79362
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSaweang Seanboot-
dc.contributor.advisorCharin Mangkhang-
dc.contributor.advisorJarunee Dibyamandala-
dc.contributor.authorPunyavee Mongkonpiputpornen_US
dc.date.accessioned2024-01-02T17:15:02Z-
dc.date.available2024-01-02T17:15:02Z-
dc.date.issued2022-02-25-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79362-
dc.description.abstractThis study entitled "Educational Migration and Intercultural Adaptation Process of Foreign Students Studying in Mahachulalongkornrajavidyalaya University" was conducted with its main objectives: to investigate factors affecting educational migration and intercultural adaptation process of foreign students and to apply the results in the construction of learning management model for foreign students. This research was conducted at Mahachulalongkornrajavidyalaya University, including its Northern and Northeastern campuses where there are many foreign students. The qualitative methods were applied by using questionnaires to collect data from 274 subjects. Using descriptive statistics consisting of frequency, percentage, mean, and standard deviation, the data were then presented in tables with descriptions. The qualitative methods were also applied in order to collect data from 20 key informants by interviewing. The qualitative data were then analyzed by using narrative data analysis. The results revealed as follows. Factor affecting educational migration of foreign students who are studying in MCU were push and pull factors. Influenced directly migration, push factors are regarded as factors of country of origin of the migrants, which provide them educational opportunities and self-improvement. Pull factors are factors that attract migrants to the destination country for specific different purposes. The reasons in tems of migration of foreign students whose original countries are in Southeast Asia and Middle Asia were as follows. The majority of them chose to study at MCU because many universities in their original countries do not support their educational purposes. Additionally, there are many barriers for Buddhist monks to study in university. For example, it is difficult to find universities that provide opportunities and educational services for Buddhist monks. Furthermore, many universities have a few specialized programs which do not meet their needs. Therefore, they have to spend lots of money for education. Advised by MCU graduates and high school teachers, they were interested in studying at MCU. Since many of MCU foreign graduates are professionally accepted and they have good careers, they are regarded as the subjects' role models and become their inspiration to further study in Thailand. In terms of the subjects' intercultural adaptation, as most of lecturers used Thai language in classroom teaching, they thought that language was their biggest problem. However, due to the similarities between Thai culture and the culture of their countries of origin, adapting to Thai culture was not considered their serious problem.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleEducational migration and acculturation of foreign students in Mahachulalongkornrajavidyalaya Universityen_US
dc.title.alternativeการย้ายถิ่นเพื่อการศึกษาและการปรับตัวทางวัฒนธรรมของนักศึกษาต่างชาติในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshMahachulalongkornrajavidyalaya University-
thailis.controlvocab.lcshStudents, Foreign -- Migration-
thailis.controlvocab.lcshMigration-
thailis.controlvocab.lcshStudents, Foreign -- Adaptation-
thailis.controlvocab.lcshAdjustment (Psychology)-
thailis.controlvocab.lcshSocial adjustment-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเรื่อง การย้ายถิ่นเพื่อการศึกษาและการปรับตัวทางวัฒนธรรมของนักศึกษาต่างชาติ ในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีวัตตุประ สงค์เพื่อศึกษาปัจจัยการย้ายถิ่นเพื่อการศึกษา กระบวนการปรับตัวทางวัฒนธรรมของนักศึกษาต่างชาติในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และนำข้อค้นพบที่ได้เสนอรูปแบบการจัดการเรียนรู้สำหรับนักศึกษาต่างชาติในมหาวิทยาลัย ผู้วิจัยได้ กำหนดพื้นที่ที่ศึกษาคือ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยส่วนกลางวิทยาเขตในเขตภาคเหนือ และวิทยาเขตในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มีนักศึกษาต่างชาติศึกษาอยู่โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิง ปริมาณเก็บข้อมูล โดยใช้แบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นนักศึกษาต่างชาติที่กำลังศึกษาในพื้นที่ เป้าหมาย จำนวน 274 รูป/คน โคยผู้วิจัยได้นำเสนอการวิเคราะห์ข้อมูล ในรูปแบบตารางประกอบคำ บรรยาย โคยใช้สถิติ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ จากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 20 รูป/คน วิเคราะห์ ข้อมูลแบบพรรณนา ผลการวิจัยพบว่าปัจจัยที่มีผลต่อการย้ายถิ่นเพื่อการศึกษาของนักศึกษาต่างชาติใน มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยนั้น คือ ปัจจัยผลักคันและ ปัจจัยดึงดูด ปัจจัยผลักดัน คือ ปัจจัยจากประเทศดันทางของนักศึกษาที่มีผลทำให้เกิดการปรารถนาที่จะ ย้ายถิ่นออก แสวงหาถิ่นที่อยู่ ใหม่เป็นการชั่วคราวเพื่อพัฒนาคนเองและมี โอกาสในการศึกษาที่สูงขึ้น ปัจจัยดึงดูด คือ ปัจจัยของ ประเทศปลายทางของนักศึกษาที่มีผลทำให้เกิดการปรารถนาที่จะย้ายถิ่นเข้า เพื่อวัตถุประ สงค์ บางอย่าง สาเหตุที่นักศึกษาส่วนใหญ่ที่มีภูมิลำเนาเดิมในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเอเชียกลาง ให้เหตุผลว่าการที่เลือกมาศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยนั้นมากจากสาเหตุที่ มหาวิทยาลัยในประเทศบ้านเกิด ไม่เอื้ออำนวยต่อการศึกษาอีกทั้งยังมีมหาลัยที่เปิดรับพระภิกษุ สามเณรเข้าเรียนมีน้อยมากหรือมีแห่งเดียวในประเทศทำให้จำเป็นจะต้องเดินทางไกล ที่พักอาศัยก็ ลำบากหายาก สวัสดิการต่างๆ ก็ไม่เพียงพอ จำเป็นต้องใช้เงินจากทางบ้านเป็นจำนวนมาก บางแห่งก็ จำกัดสาขาวิชาที่เรียน ไม่ได้รับโอกาสที่เปิดกว้างมากพอ เมื่อได้รับคำแนะนำจากรุ่นพี่และคำแนะนำ จากครูโรงเรียนมัธยมเดิมจึงเริ่มสนใจและหาข้อมูลเพิ่มเติม ประกอบกับการเห็นตัวอย่างของรุ่นพี่ที่จบ การศึกษามาได้รับการยอมรับและมีงานทำที่ดีจึงตัดสินใจที่จะเลือกเดินทางมาศึกษาในประเทศไทย สำหรับการปรับตัวนั้นที่เป็นปัญหาที่สุดคือค้นภายาเพราะบางแห่งใช้ภาษาไทยในการ จัดการศึกยา ด้านอื่นๆ ไม่ค่อยเป็นปัญหาเพราะมีวัฒนธรรมที่ใกล้เคียงกันen_US
Appears in Collections:EDU: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.