Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79359
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPrasit Leepreecha-
dc.contributor.advisorNongyao Naowarat-
dc.contributor.advisorMukdawan Sakboon-
dc.contributor.authorYun, Ju-Hongen_US
dc.date.accessioned2024-01-02T17:05:09Z-
dc.date.available2024-01-02T17:05:09Z-
dc.date.issued2021-09-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79359-
dc.description.abstractThis dissertation examines the influence of the mother tongue-based multilingual education (MTB-MLE) on having transnational ethnicity of the Hmong people, who are ethnic minorities in the area of Phu Chi Fah in northern Thailand. This dissertation's comparative studies between international and Thai-based research on MTB-MLE contribute to developing educational, and ethnic and national knowledge systems. The intersection between the preferences for MTB-MLE and the choices between Romanized Popular Alphabets (RPA) and Thai scripts between the Lao-Hmong (or Hmong-Lao) and Thai-Hmong (or Hmong-Thai) contributes to understanding the reason for emerging transnational ethnicity in the area. In particular, the studies for the diverse objectives based on the MTB-MLE project among the stakeholders contribute most to developing systems for underdeveloped education and identity issues surrounding the ethnic minority groups in Thailand. Overall, the MTB-MLE and language conservation are consistent except for their correlation with the implementation of policies of assimilation that serve as a means to the political goal of national unification I also found that the value orientation for the choice of their language writing system between the Lao-Hmong and Thai-Hmong in Huai Khu is different. Yet, the remaining Hmong from the surrounding areas do not concern themselves whether RPA or Thai scripts are used for Hmong writing. They try to be assimilated and accepted by the mainstream of Thai. This fact shows that the Lao-Hmong's tendency for having a transnational ethnicity is stronger than the Thai-Hmong (or Hmong-Thai). It also proves that the Lao-Hmong's interest in MTB-MLE is also different from the Hmong-Thai, whose identity is closer to Thai or those who want to be in the process of Thai-ization in education. It will be important for future studies to consider the historical factors experienced by the Lao-Hmong and the Thai-Hmong and the geographical factors in which the peoples are distributed worldwide. In particular, this research suggests that having multilinguality and plural culturalism as a transnational ethnicity is the environmental and historical product of the Hmong. Having a transnational ethnicity will be a way for them to survive and prosper in this era of globalization and regionalism. These results also provide evidence that the traditional values of the Hmong tribe are changing (Vang, 2010, and Leepreecha and Meixi, 2018). This dissertation has yielded five major findings: (1) MTB-MLE can act as a significant source of constructing the transnational ethnicity, which is the main focus of this study. (2) Maintaining the Romanized Popular Alphabet (RPA) script for the Hmong language writing is the key to forming and practicing the transnational Hmong ethnicity. (3) Social attributes of the languages practiced in MTB-MLE are the critical resources of forming transnational ethnicity. (4) Using RPA assures the maintenance of one of the most important cultural values of the Hmong: 'appreciating and respecting the elders and engaging together.' Other traditional values include language, playing the bamboo flute, costumes, and rituals and festivals. (5) The objectives of the Hmong's negotiation with the Thai government are to maintain the MTB-MLE project and let the Hmong children continue to use their language 'Hmong' at school and write their mother tongue in RPA. Connecting with other Hmong communities and people scattered all over the world is to avoid failing to keep one of their most important cultural values. That is why the people, even if it means losing the opportunities of gaining economic and educational benefits provided by the government of Thailand through the national education system, endure and want to keep their mother tongue with the Romanized Hmong writing system. The impact of this dissertation lies in the significant theoretical contribution as (1) the complementarity of in the studies of mother tongue-based multilingual education analysis as a methodological contribution. (2) the complementarity of assimilation/integration and multilingual education interaction as a double analytic lens in ontological contribution. (3) the epistemological consideration especially in the studies pertaining to transnational ethnicity constructivism. I found evidence of transnational ethnicity and power negotiation phenomena as consequences of the Hmong's Phu Chi Fah area's MTB-MLE. I tried to reconstruct ethnic language orthography-related issues, and grounded reflection, opposition, and negotiation on education discourse in the Phu Chi Fah Area. In conclusion, this thesis argues that the transnational Hmong entails the essential of ethnic identities and power negotiation for the implementation of MTB-MLE in local schools. This study opens a new discussion on mother tongue-based multilingual education in the context of transnational ethnicity, which can be a powerful source of negotiation to maintain the MTB-MLE project for culture and mother tongue preservation among the Hmong in the Phu Chi Fah area.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleMother tongue-based education in Hmong ethnic schools in Phu Chi Fah areaen_US
dc.title.alternativeการสอนภาษาแม่ในโรงเรียนชาติพันธุ์ม้งในพื้นที่ภูชี้ฟ้าen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshPhu Chi Fah-
thailis.controlvocab.lcshHmong language-
thailis.controlvocab.lcshThai language-
thailis.controlvocab.lcshNative language and education-
thailis.controlvocab.lcshNative language -- Study and teaching-
thailis.controlvocab.lcshNative language-
thailis.controlvocab.lcshHmong (Asian people)-
thailis.controlvocab.lcshEthnic groups-
thailis.controlvocab.lcshEthnology-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิทยานิพนธ์นี้ศึกษาอิทธิพลของการจัดการศึกษาแนวทางพหุภาษาโดยใช้ภาษาแม่เป็นฐาน (MTB-ML E) ต่อการมีอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ข้ามชาติของชาวม้ง ซึ่งเป็น ชาติพันธุ์ชนกลุ่มน้อยใพ้นที่ ภูชี้ฟ้าในภาคเหนือของประเทศไทย การวิจัยครั้งนี้ศึกษาเปรียบเทียบงานวิจัยในประเทศไทยและ นานาชาติที่เกี่ยวกับ MIB-MILE เพื่อพัฒนาระบบการจัดการศึกษาและ การจัดระบบความรู้ใน ระดับชาติพันธุ์และระดับชาติ การเปรียบเทียบจุดตัดระหว่างความนิยมต่อการจัดการศึกษาแนวทาง พหุภาษาโดยใช้ภาษาแม่เป็นฐานกับตัวเลือกระบบอักษร ซึ่งได้แก่ระบบอักษรโรมันสากล (Romanized Popular Alphabets: RPA) กับระบบอักษรไทย ทำให้เข้าใจถึงสาเหตุของการมีอัตลักษณ์ ทางชาติพันธุ์ข้ามชาติในพื้นที่ การศึกษาเปรียบเทียบงานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับ MTB-MLE ด้วย หลากหลายวัตถุประสงค์การวิจัยจากหลายหลายผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สามารถส่งเสริมการพัฒนาการ จัดการศึกษาในสถาบันการศึกษาที่จัดการศึกษาต่ำกว่ามาตรฐาน รวมถึงส่งเสริมความเข้าใจปัญหา ด้านอัตลักษณ์ของชนกลุ่มน้อยต่าง ๆ ในประเทศไทยได้โดยภาพรวม การจัดการศึกษาด้วยแนวทาง MTB-MLE กับ การอนุรักษ์ภาษามีความสมพันธ์สอดคล้องกัน เว้นแต่ประเด็นการใช้นโยบายกลืน กลายซึ่งเป็นแนวทางเพื่อบรรลุเป้าหมายในการรวมชาติเท่านั้น ผลจากการศึกษาพบว่า การให้คุณค่าระบบเขียนภาษาม้งระหว่างกลุ่มลาว-ม้งและ ไทย-ม้งที่บ้านห้วยคู มีความแตกต่างจากชาวม้งที่อาศัยในบริเวณรอบข้าง ซึ่งไม่มีข้อกังวลต่อระบบภาษาเขียนทั้ง RPA และ ระบบอักษรไทย เนื่องจากกลุ่มชาวม้งในบริเวณรอบข้างมีความพยายามกลืนกลายเป็นไทยตามแบบ กระแสหลัก ข้อเท็จจริงนี้สะท้อนแนวโน้มของชาวลาว-มั้งว่ามีอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ข้ามชาติที่ แข็งแกร่งกว่าชาวไทย-ม้ง (หรือชาวม้ง-ไทย) การศึกษานี้ให้ข้อพิสูจน์ว่า ความสนใจของชาว ลาว-ม้งต่อแนวทางการศึกษาแบบ MIB-MILE มีความแตกต่างจากชาวม้ง-ไทย ซึ่งมีอัตลักษณ์ โน้ม เอียงมาทางอัตลักษณ์ไทย หรือ มีความต้องที่จะอยู่ในกระบวนการกลายเป็นไทยผ่านระบบการศึกษา ประเด็นสำคัญของการศึกษาวิจัยในอนาคตคือการคำนึงถึงปัจจัยภูมิหลังของชาวลาว-ม้ง และ ชาวไทย- ม้ง รวมถึงปัจจัยทางภูมิศาสตร์ซึ่งผู้คนอาจอพยพเคลื่อนย้ายไปตามภูมภาคต่าง ๆ ทั่วโลก งานวิจัยนี้ ยังชี้ให้เห็นว่าการมีความสามารถทางภาษาที่หลากหลายและมีพทุวัฒนธรรมนิยมเป็นอัตลักษณ์ทาง ชาติพันธุ์ข้ามชาตินั้น เป็ผลลัพธ์จากบริบทแวดล้อมและบริบททางประ วัติศาสตร์ของชาวม้ง การมีอัต ลักษณ์ทางชาติพันธุ์ข้ามชาติจะเป็นแนวทางในการเอาตัวรอดและการเจริญรุ่งเรืองในยุคโลกาภิวัตน์ และ ภูมิภาคนิยม ผลลัพธ์จากการศึกษาแสดงหลักฐานว่า ค่านิยมดั้งเดิมของชาวม้งกำลังมี ความเปลี่ยนแปลง (Vang, 2010, and Leepreecha and Meixi, 2018) วิทยานิพนธ์นี้มีข้อค้นพบ ประเด็น (1) แนวทางการศึกษาแบบ MTB-MLE สามารถเป็นต้นธารการ ประกอบสร้างอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ข้ามชาติ (2) การคำรงไว้ซึ่งระบบเขียนแบบโรมันสากล (RPA) สำหรับการเขียนภาษาม้งเป็นปัจจัยสำคัญในการสร้างและ แสคงออกถึงอัตลักษณ์มังข้ามชาติ (3) คุณลักษณ ะทางสังคมของภาษาที่ใช้ในการจัดการศึกษาแบบ MTB-MLE เป็นต้นธารที่สำคัญใน การสร้างอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ข้ามชาติ (4) การใช้ระบบเขียนแบบ RPA ช่วยยืนยันการคงอยู่ของ คุณค่าทางวัฒนธรรมม้งดั่งเดิมอย่างหนึ่ง นั่นคือ 'การเคารพผู้อาวุโสและ การอยู่ร่วมกัน' รวมถึงคุณค่า วัฒนธรรมดั่งเดิมอื่น เช่น ภาษา การเป่าขลุ่ย การแต่งกาย การประกอบพิธีกรรม และงานประเพณี และ (3) การต่อรองของชาวม้งต่อรัฐบาลไทยมีวัตถุประสงค์เพื่อคงไว้ซึ่งโครงการการจัดการศึกษาแบบ MTB-MLE และ การอนุญาตให้ลูกหลานม้งได้ใช้ภาษาม้งในโรงเรียนและเขียนภาษาแม่ด้วยระบบ RPA การติดต่อกับเครือข่ายชุมชนม้งทั่วโลก ถือเป็นการหลีกเลี้ยงความลัมเหลวในการคำรงไว้ซึ่ง คุณค่าทางวัฒนธรรมที่สำคัญ นั่นเป็นสาเหตุที่ชาวม้งเลือกยืนหยัดที่จะใช้ภาษาแม่ในระบบเขียนแบบ โรมันสากล ถึงแม้ว่า มันหมายถึงการเสียโอกาสทางการศึกษาและประโยชน์ทางเศรษฐกิจที่รัฐบาล ไทยจัดเตรียมไว้ผ่านระบบการศึกษาชาติก็ตามงานวิจัยขึ้นนี้สร้างผลกระทบทางทฤษฎี ดังนี้ (1) การส่งเสริมการศึกษาวิเคราะห์ทางระเบียบวิธีวิจัยเกี่ยวกับการจัดการศึกษาพหุภาษาทโดยใช้ ภาษาแม่เป็นฐาน (2) การส่งเสริมการศึกษาระดับภววิทยาของการกลืนกลาย/การรวมชาติกับการจัด การศึกษาแบบพหุภาษาผ่านการวิเคราะห์เชิงซ้อน และ (3) การส่งเสริมการศึกษาระดับญาณวิทยาต่อ การประกอบสร้างและคงไว้ซึ่งอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ข้ามชาติen_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580455802 JU-HONG YUN.pdf3.78 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.