Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79333
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกานดา หวังชัย-
dc.contributor.authorวรวิทย์ ศรชัยen_US
dc.date.accessioned2023-12-13T09:36:42Z-
dc.date.available2023-12-13T09:36:42Z-
dc.date.issued2565-05-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79333-
dc.description.abstractNowadays, organic lettuce is popular since consumers are healthy, but they face microbial contamination that causes various diseases when consumed with fresh crops. A Survey of microbiological quality of organic lettuce fresh products was investigated with 16 samples from 4 organic markets (Aggie Hut, Jingjai market, Royal Project outlet market, and Rimping supermarket) at Chiang Mai city. The microbial contamination of samples from Aggie Hut in the CMU market has the highest level of total coliform bacteria (1.84 x 104 cfu/g), followed by Jingjai market, Royal Project outlet market, and Rimping supermarket ranging from 1.17-1.43 x 104 cfu/g. A study of microbubble ozone washing to reduce microbial contamination in organic lettuce was determined. Microbubble ozone generator operated until the solution reached final oxidation-reduction potential (ORP) at 660mV. Then washing lettuce in a microbubble ozone bath with different temperatures at 15 and 25 °C and immersion times of 15 and 30 min were studied. The results showed washing lettuce at 15 °C for 30 min was the most effective in decreasing microbial contamination, reducing the amount of total coliform bacteria, Escherichia coli and yeast and mold by 68.32 %, 67.02% and 53.38%, respectively. Whereas Salmonella spp. was not detected. In addition, washing lettuce with microbubble ozone at a water temperature of 15 °C for 30 min then storing at 14 °C for 15 days and sampling every 3 days to measure the postharvest qualities. It was found that organic lettuce washing with microbubble ozone water did not show any significant differences in quality, including weight loss, chlorophyll content, leaf color change, customer acceptance as compared to unwashed and washed by tap wateren_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectไมโครบับเบิลโอโซนen_US
dc.titleการลดความปนเปื้อนของจุลินทรีย์ในผักกาดหอมอินทรีย์ (Lactura sativa L.) โดยการล้างด้วยไมโครบับเบิลโอโซนen_US
dc.title.alternativeReduction of microbial contamination in Organic Lettuce (Lactuca sativa L.) by microbubble ozone washingen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashผักกาดหอม-
thailis.controlvocab.thashการปนเปื้อนของจุลินทรีย์-
thailis.controlvocab.thashจุลินทรีย์ -- การปนเปื้อน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractในปัจจุบันผักกาคหอมอินทรีย์ถือเป็นอาหารปลอดสารพิษที่เป็นที่นิยม แต่ก็ยังมีความเสี่ยงจากการ ปนเปื้อนจุลินทรีย์ก่อโรคหากรับประทานแบบสด อันมีสาเหตุจากปุ๋ยคอก และน้ำที่ใช้ปลูก หนึ่งในวิธี ที่น่าสนใจในการใช้ลดการปนเปื้อนของจุลินทรีย์คือ การใช้ไมโครบับเบิลโอโซน ซึ่งเป็นเทคนิคที่ใช้ แก๊สโอโซนที่มีคุณสมบัติในการกำจัดจุลินทรีย์ ร่วมกับการใช้ไมโครบับเบิล ที่จะทำให้แก๊สละลายใน น้ำได้นานขึ้น ทำให้การลดการปนเปื้อนของจุลินทรีย์ทำได้ดีขึ้น ในงานวิจัยนี้ได้ทำการสำรวจ ผักกาดหอมอินทรีย์จากตลาดผักอินทรีย์ ในจังหวัดเชียงใหม่ 4 แหล่งได้แก่ Aggie Hut ตลาดจริงใจ ศูนย์ผลิตผลโครงการหลวง และ ริมปิงซุปเปอร์มาร์เก็ต นำมาล้างในอ่างน้ำไมโครบับเบิลเป็นเวลา 15 และ 30 นาที ที่อุณหภูมิน้ำ 15 และ 30 °C พบการปนเปื้อนโคลิฟอร์มสูงสุดในตัวอย่างจาก Aggie Hut เท่ากับ 1.84 x 104 CFU/g จกผลการทคลองเปรียบเทียบอุณหภูมิ และ ระยะเวลาที่ลดการปนเปื้อนได้ ดีที่สุดในการล้าง พบว่า การล้างที่อุณหภูมิ 15 °C เป็นเวลา 30 นาทีมีประสิทธิภาพในการลดการ ปนเปื้อนได้สูงสุด โดยการลดลงของ total coliform, Escherichia coli และรา และยีสต์ เป็น 68.32 %, 67.02 % และ 53.38 % ตามลำดับ จากนั้นนำผักกาคหอมอินทรีย์มาล้างที่อุณหภูมิ และเวลาที่ดีที่สุด จากการทดลองที่ 2 คือ อุณหภูมิ 15 °C เป็นเวลา 30 นาที หลังการล้างนำมาเก็บรักษาที่ 14 °C เป็นเวลา 15 วัน และตรวจวัดคุณภาพได้แก่ ปริมาณคลอโรฟิลล์ วัดค่าสี การสูญเสียน้ำหนักและความพึงพอใจ ของผู้บริโภคทุก 3 วัน พบว่าไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในด้านคุณภาพ เมื่อ เปรียบเทียบกับชุดที่ไม่ล้าง และ ชุดที่ล้างด้วยน้ำประปาen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600531131 วรวิทย์ ศรชัย.pdf4.14 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.