Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79322
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุทธนา ขำสุวรรณ์-
dc.contributor.authorธิดารัตน์ ธนาคำen_US
dc.date.accessioned2023-12-12T16:43:20Z-
dc.date.available2023-12-12T16:43:20Z-
dc.date.issued2565-04-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79322-
dc.description.abstractBattery chargers are widely employed in plug-in electric vehicles, which require grid power to recharge batteries. Battery chargers are divided into two types according to their operations, i.e. off- board battery chargers and on-board battery chargers. Due to the strength of the electric vehicle's interior equipment utilization, the flexibility in use, and cost-effectiveness, on-board battery chargers are becoming increasingly popular. Their configurations are considered to reduce volume, weight, and cost by combining the hardware operation of the charging system and the driving system together, like converters and motors, namely, an "integrated on-board battery charger." In addition, there have been a lot of studies done on the on-board battery, but they still have problems with common-mode voltage problems, power factor correction, and controlling the battery charger system. To study, analyze, and overcome these problems, this thesis presents an isolated integrated on-board battery charger system for plug-in electric vehicles using an open-end winding ac motor drive with a nine-switch converter based on current vector control and space vector pulse width modulation. Moreover, a control algorithm for the distorted and unbalanced grid voltage conditions is also presented in this thesis to improve the grid power quality and support the operation when an unusual grid condition occurs. The validity and feasibility of the proposed battery charger are verified through the simulation results, the performances of the system operation are compared with that of other existing researchers.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectระบบเครื่องชาร์จแบตเตอรี่บนบอร์ดรวมen_US
dc.titleระบบเครื่องชาร์จแบตเตอรี่บนบอร์ดรวมชนิดแยกวงจรสำหรับยานยนต์ไฟฟ้าปลั๊กอินโดยใช้การขับเคลื่อนมอเตอร์กระแสสลับพันขดลวดแบบเปิดหลังด้วยคอนเวอร์เตอร์เก้าสวิตช์en_US
dc.title.alternativeIsolated-integrated on-board battery charger system for plug-in electric vehicles using open-end winding AC motor drive with nine-switch converteren_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashเครื่องประจุแบตเตอรี่-
thailis.controlvocab.thashยานพาหนะไฟฟ้า-
thailis.controlvocab.thashยานพาหนะไฟฟ้า -- แบตเตอรี่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractเครื่องชาร์จแบตเตอรี่ถูกนำมาใช้งานอย่างแพรหลายในยานยนต์ไฟฟ้าปลั๊กอิน ซึ่งเป็นยานยนต์ไฟฟ้าที่ ต้องการกำลังกริดในการชาร์จแบตเตอรี่ เครื่องชาร์จแบตเตอรี่ดังกล่าวนั้นสามารถแบ่งตามลักษณะ การใช้งานได้ คือ เครื่องชาร์จแบตเตอรี่นอกบอร์ดและเครื่องชาร์จแบตเตอรี่บนบอร์ด ด้วยข้อโดดเด่น ในเรื่องของการใช้ประโยชน์จากอุปกรณ์ภายในยานยนต์ไฟฟ้า ความยืดหยุ่นในการใช้งานและราคา ของอุปกรณ์ เครื่องชาร์จแบตเตอรี่บนบอร์ดจึงได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้น ซึ่งองค์ประกอบของระบบ เครื่องชาร์จแบตเตอรี่บนบอร์ดนี้ใด้พิจารณาจากการใช้งานฮาร์ดแวร์ของระบบการชาร์จและระบบ การขับเคลื่อนร่วมกัน คือ คอนเวอร์เตอร์และมอเตอร์ไฟฟ้า เพื่อลดปริมาตร น้ำหนักและราคาของ อุปกรณ์ เรียกว่า "ระบบเครื่องชาร์จแบตเตอรี่บนบอร์ดรวม" จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่ เกี่ยวข้องพบว่ายังคงมีจุดอ่อน ในเรื่องการวิเคราะห์ปัญหาแรงดัน โหมคร่วมที่เกิดขึ้นในระบบเครื่อง ชาร์จแบตเตอรี่ การปรับแก้ตัวประกอบกำลัง และการควบคุมการชาร์จแบตเตอรี่ วิทยานิพนธ์นี้จึงได้นำเสนอระบบเครื่องชาร์จแบตเตอรี่บนบอร์ดรวมชนิดแยกวงจรสำหรับยานยนต์ ไฟฟ้าปลั๊กอิน โดยใช้การขับเคลื่อนมอเตอร์กระแสสลับพันขดลวดแบบเปิดหลังด้วยคอนเวอร์เตอร์ เก้าสวิตช์ เพื่อศึกษา วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาดังกล่าว บนพื้นฐานของการควบคุมแบบเวกเตอร์ กระแสและเทคนิคการมอคูเลตความกว้างพัลล์เชิงสเปซเวกเตอร์สำหรับควบคุมการทำงานของระบบ การชาร์จแบตเตอรี่ อีกทั้งยังได้นำเสนออัลกอริทึมควบคุมสำหรับเงื่อนไขแหล่งจ่ายแรงคันกริดที่มี ความเพี้ยนเชิงฮาร์มอนิกและความไม่สมดุลเกิดขึ้น เพื่อช่วยปรับปรุงคุณภาพกำลังไฟฟ้าและรองรับ การใช้งานเครื่องชาร์จแบตเตอรี่ ในกรณี ระบบกริดผิดปกติ โดยได้พิสูจน์ความถูกต้องและความสามารถ ในการใช้งานของระบบเครื่องชาร์จแบตเตอรี่ที่นำเสนอผ่านผลการจำลอง จากการพิจารณาสมรรถนะ การทำงานของระบบตลอดจนการเปรียบเทียบกับระบบเครื่องชาร์จแบตเตอรี่ ในงานวิจัยเดิมที่มีอยู่en_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630631022 ธิดารัตน์ ธนาคำ.pdf12.52 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.