Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79313
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorLalida Shank-
dc.contributor.authorRachaporn Manmanasareeen_US
dc.date.accessioned2023-12-12T16:05:55Z-
dc.date.available2023-12-12T16:05:55Z-
dc.date.issued2022-03-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79313-
dc.description.abstractS-allyl-cysteine (SAC) is a non-volatile organosulfur compound commonly present in garlic (Allium sativum L.) with promising medicinal properties such as cholesterol-lowering, hepatoprotective and neuroprotective effects as well as antidiabetic, anticancer, antioxidant and antiinflammatory activities. In an attempt to monitor the production of this compound in garlic callus, a protocol was developed for its quantitative analysis. Standard S-allyl-cysteine was derivatized with dansy1 chloride to increase sensitivity and stability of its amino group prior to detection via high performance liquid chromatography (HPLC) on a LiChrospher C-18 column using sodium acetate buffer : methanol as mobile phase. Molar ratios of S-allyl-cysteine standard to dansyl chloride were used at 1:1, 1:5, 1:10, 1:20, 1:30 and 1:40. The molar ratio 1:20 presented the highest S-allyl-cysteine contents of 0.8110 ± 0.0005 µg. Based on the previous report that fresh garlic contained S-allyl-cysteine at approximately 20 µg/g, molar ratios of 1:20, 1:40, 1:60, 1:80, and 1:100 were subsequently employed to optimize the derivatization step. S-allyl-cysteine content in fresh garlic determined with derivatization at molar ratio 1:20 was 0.1285-0.0002 ug g which was almost the same as S-allyl-cysteine contents in other molar ratios. S-ally1 cysteine production was also investigated in garlic callus cultured on Murashige and Skoog solid medium (MS) with 2,4-dichloropheoxyacetic acid (2,4-D) at concentration of 0.05 mg/L for 8 weeks. S-allyl-cysteine was extracted from the tissue with methanol and derivatized with dansyl chloride following those molar ratios performed on fresh garlic revealing 0.2331 ± 0.0008 µg/g at the molar ratio 1:20. In the case of biological samples like those from fresh garlic and garlic callus, the molar ratio of 1:20 of S-allyl-cysteine to dansyl chloride is proposed for feasible detection and quantitative analysis of S-allyl-cysteine. In this study, callus culture samples from garlic were placed in MS medium with only 2.4-D at different concentrations of 0.1, 0.3 and 0.5 mg/L. Another set sub-culturing of garlic callus was carried out using the same medium in presence of kinetin at concentration of 0.5 mg/L combined with 2.4-D at different concentrations of 0.1, 0.3 and 0.5 mg/L for 4 weeks. The obtained callus culture had compact characteristic with yellowish color. S-allyl-cysteine contents in callus grown onto MS medium with different plant growth regulator were analyzed via HPLC and comparison with S-allyl- cysteine standard. The average S-allyl-cysteine contents in callus cultured on MS medium supplemented with 0.1 mg/L of 2.4-D offered the highest S-allyl-cysteine content at 0.3924 ± 0.0027 µg/g fresh weight. S-allyl-cysteine in callus culture from induction with only 2,4-D at concentration of 0.1 mg/L was separated via column chromatography, monitored with thin layer chromatography (TLC) and identified with nuclear magnetic resonance (NMR) spectroscopy, respectively. These techniques confirmed the presence of S-allyl-cysteine in callus extract. Moreover, with the conditions preliminarily used in this study garlic callus has shown S-allyl-cysteine content of 3-fold of that found in the fresh garlic at 0.1285 ± 0.0002 µg/g counterpart suggesting that tissue culture is an alternative approach for its manufacture of S-allyl- cysteine.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectS-allyl-cysteineen_US
dc.subjectAllium sativum L.en_US
dc.titleElicitation of S-allyl-cysteine production in Callus of Garlic (Allium sativum L.)en_US
dc.title.alternativeการกระตุ้นการผลิตสาร เอส-อัลลิล-ซีสเตอีน ในแคลลัสของกระเทียม (Allium sativum L.)en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshGarlic-
thailis.controlvocab.lcshOrganosulfur compounds-
thailis.controlvocab.lcshSulfur compounds-
thailis.controlvocab.lcshCysteine-
thailis.controlvocab.lcshAmino compounds-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractเอส-อัลลิล-ซิสเตอีน เป็นสารประกอบออร์แกนโนซัลเฟอร์ที่ไม่สามารถระเหยได้ง่าย พบได้ ในกระเทียม (Allium sativum L.) มีคุณสมบัติทางการแพทย์ เช่น ลดปริมาณคอเลสเตอรอล ป้องกัน การเกิดโรคที่เกี่ยวกับตับและระบบประสาท ตลอดจนมีฤทธิ์ในการต้านการเกิดเบาหวาน มะเร็ง เป็น สารต้านอนุมูลอิสระ และต้านการอักเสบ การทดลองนี้ต้องการติคตามการผลิตสาร เอส-อัลลิล-ชีสเต อีนในแคลลัสของกระเทียม โดยมีการพัฒนาเทคนิคการวิเคราะห์เชิงปริมาณ ด้วยการทำให้เกิดสาร อนุพันธ์ของเอส-อัลลิล-ชีสเตอีน กับแดนซิลคลอไรด์ เพื่อเพิ่มความไวและความเสถียรของ หมู่อะมิโนก่อนการวิเคราะห์เชิงปริมาณด้วยโครมาโทกราฟีของเหลวสมรรถนะสูง (HPLC) ใน คอลัมน์ LiChrospher C-18 โดยใช้บัฟเฟอร์โซเดียมอะซิเตต : เมทานอล เป็นวัฏภาคเคลื่อนที่ อัตราส่วนโมลาร์ของสารมาตรฐานเอส-อัลลิล-ชีสเตอีน ต่อแดนซิลคลอไรด์ คือ 1:1. 1:5. 1:10, 1:20, 1:30 และ 1:40 โดยอัตราส่วน 1:20 เป็นอัตราส่วนที่ให้ปริมาณของสารเอส-อัลลิล-ชีสเตอีน สูงสุดเท่ากับ 0.8110 ± 0.0005 ไมโครกรัม จากรายงานก่อนหน้านี้ว่าในกระเทียมสดมีเอส-อัลลิล- ซีสเตอีน ประมาณ 20 ไมโครกรัม/กรัม จึงได้ใช้อัตราส่วนในการทำให้เกิดสารอนุพันธ์กับแดน ซิลคอลไรด์ คือ 1:20, 1:40, 1:60 , 1:80 และ 1:100 พบว่าอัตราส่วน 1:20 ปริมาณสารเอส-อัลลิล- ซีสเตอีน เท่ากับ 0.1285 ± 0.0002 ไมโครกรัม/กรัม ซึ่งมีค่าใกล้เคียงกับที่ทำปฏิกิริยาในอัตราส่วน อื่นๆ นอกจากนี้ได้วิเคราะห์หาปริมาณเอส-อัลลิล-ชีสเตอีน ในแคลลัสของกระเทียมที่มีการเพาะ เลี้ยง บนอาหาร MS เสริมด้วย 2,4-D ที่ความเข้มข้น 0.05 มิลลิกรัม/ ลิตร เป็นเวลา 8 สัปดาห์ เมื่อสกัด เอส-อัลลิล-ซีสเตอีนจากเนื้อเยื่อด้วยเมทานอล และ นำมาทำให้เกิดสารอนุพันธ์กับแดนซิลคลอไรด์ ในอัตราส่วนเช่นเดียวกับการทคลองในกระเทียมสด ที่อัตราส่วน 1:20 พบปริมาณเอส-อัลลิล-ซีสเตอี นสูงที่สุด เท่ากับ 0.2331 ± 0.0008 ไมโครกรัม/กรัม ในกรณีของตัวอย่างทางชีวภาพ เช่น กระเทียม สด และแคลลัสของกระเทียม ที่อัตราส่วน 1:20 ของสารเอส-อัลลิล-ซีสเตอีน ต่อแดนซิลคลอไรด์ ถือ ว่าเหมาะสมต่อการตรวจหาและการวิเคราะห์เชิงปริมาณ ในงานวิจัยนี้ได้ทดลองศึกษาการเพาะ เลี้ยง แคลลัสของกระเทียมบนอาหาร MS เสริมด้วย 2,4-D ที่ความเข้มข้น 0.1. 0.3 และ 0.5 มิลลิกรัม/ ลิตร อย่างเดียว และอีกหนึ่งชุดที่เสริมด้วย kinetin ที่ความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัม/ ลิตรร่วมกับ 2,4-D ที่ความเข้มข้น 0. 1, 0.3 และ 0.5 มิลลิกรัม/ ลิตร แคลลัสที่ได้มีลักษณะเซลล์ที่เกาะแน่นเป็นสีเหลือง เมื่อวิเคราะห์หาปริมาณเอส-อัลลิล-ซีสเตอีน ผ่านเทคนิค HPLC เปรียบเทียบกับกราฟมาตรฐานของ สารเอส-อัลลิล-ชีสเตอีน พบว่า การเพาะเลี้ยงแคลลัสของกระเทียมบนอาหาร MS ที่เสริมด้วย 2,4-D ที่ความเข้มข้น 0.1 มิลลิกรัม/ ลิตร ให้ปริมาณสารเอส-อัลลิล-ชีสเตอีน สูงสุด เท่ากับ 0.3924 ± 0.0027 ไมโครกรัม/กรัม นำแคลลัสที่เลี้ยงและกระตุ้นด้วย 2,4-D ที่ความเข้มขัน 0.1 มิลลิกรัม/ ลิตร ไปแยกและวิเคราะห์โดยคอลัมน์โครมาโทกราฟฟี โดยตรวจหาด้วยโครมาโทกราฟพีแบบผิวบาง (TLC) และหาเอกลักษณ์ โดยนิวเคลียร์แมกเนติกเรโซแนนซ์สเปกโตรสโคปี (NMR) ตามลำดับ โดย เทคนิคเหล่านี้ยืนยันได้ว่าสารที่พบในสารสกัดแคลลัส คือ สารเอส-อัลลิล-ชีสเตอีน นอกจากกนี้เมื่อ วิเคราะห์ปริมาณของสารเอส-อัลลิล-ชีสเตอีน ที่พบในแคลลัสของกระเทียมพบ โดยประมาณสามเท่า เมื่อเปรียบเทียบกับปริมาณของสารเอส-อัลลิล-ชีสเตอีน ที่พบในกระเทียมสดที่ 0.1285 ± 0.0002 ไมโครกรัม/กรัม ดังนั้นเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเพื่อผลิตแคลลัสจึงเป็นเทคนิคที่น่าสนใจในการ ผลิตสาร เอส-อัลลิล-ชีสเตอีนen_US
Appears in Collections:GRAD-Health Sciences: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
629931006 รัชภร มั่นมานะเสรี.pdf4.88 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.