Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79304
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorNongyao Nawarat-
dc.contributor.advisorPisith Nasee-
dc.contributor.advisorKwanchewan Buadaeng-
dc.contributor.authorPorluck Pinrarueken_US
dc.date.accessioned2023-12-12T12:18:45Z-
dc.date.available2023-12-12T12:18:45Z-
dc.date.issued2023-12-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79304-
dc.description.abstractThis qualitative research study examines the dynamics and contextual factors involved in creating knowledge spaces through the teachings of Khruba Chaiyawongsa Pattana (also known as Khruba Wong) in a migrant Karen community. The data was collected through document analysis and field observations using semi-structured interviews from 2021-2022. The study involved key informants such as monks, community leaders, a liaison (Taka), leaders of various groups, school administrators, teachers, children, youth, and relevant government officials. The Karen community is a unique religious group that settled in Thailand in 1970 to participate in merit-making activities with Khruba Wong. They created a transformative knowledge space within the community. Key components include the Karen people's beliefs, the establishment of the community, the Thai monarchy's visit in 1978, Khruba Wong's passing in 2000, recognition as Thailand's first five precepts village in 2015, local production, and homestay tourism. The knowledge space created through Khruba Wong's teachings was done through various practices: 1) It was an educational space for studying the Karen language. It explores the interaction between official state knowledge and community knowledge in constructing individual identities. 2) The ritual space of the sarong-changing ceremony honoring Khruba Wong involves negotiations with government agencies, the Karen community, and disciples. 3) Due to national policy, Thailand's first Five Precepts village required government and community negotiations. The promotion of tourism communities and OTOP products attracted tourists interested in experiencing the unique cultural traditions of the Khruba Wong-style Vegetarian Community. This led to the developing of community products for homestay tourism, driven by participation in the OTOP project, recognition through cultural tourism awards, and support from government policies to develop the tourism market.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleThe Construction of knowledge space in accordance with the teachiings of khruba chaiyawongsa pattana in karen communityen_US
dc.title.alternativeการสร้างพื้นที่ความรู้ตามคำสอนของครูบาชัยยะวงศาพัฒนาในชุมชนกะเหรี่ยงen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshKaren (Southeast Asian people) -- Religion-
thailis.controlvocab.lcshKaren (Southeast Asian people) -- Manners and customs-
thailis.controlvocab.thashEducation-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเรื่อง “การสร้างพื้นที่ความรู้ตามคำสอนของครูบาชัยยะวงศาพัฒนาในชุมชนกะเหรี่ยง” เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เพื่อศึกษาพลวัตและปัจจัยเงื่อนไข การสร้างพื้นที่ความรู้ตามคำสอนของครูบาชัยยะวงศาพัฒนา หรือครูบาวงศ์ในชุมชนกะเหรี่ยง และศึกษาปฏิสัมพันธ์การปะทะ ต่อรอง และร่วมมือของการสร้างพื้นที่ความรู้ตามคำสอนของ ครูบาวงศ์ในชุมชนกะเหรี่ยง วิธีการศึกษาเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งภาคเอกสารและภาคสนาม ด้วยวิธีสังเกตการณ์และสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง (Semi-structured Interview) เก็บข้อมูล การสัมภาษณ์ตั้งแต่ปี พ.ศ.2564-2565 จากพระสงฆ์ ผู้นำชุมชน มัคนายกวัด (ต๊ะกะ) ผู้นำกลุ่มต่างๆ ผู้บริหารโรงเรียนและครู เด็กและเยาวชน ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ภาครัฐที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษา พบว่า ชุมชนกะเหรี่ยงมีลักษณะเฉพาะในฐานะชุมชนทางศาสนาที่ชาวกะเหรี่ยงได้อพยพเข้ามาจากจังหวัดตาก แม่ฮ่องสอน และเชียงใหม่ เพื่อเข้ามาอยู่อาศัยและทำบุญ ร่วมกับครูบาวงศ์ตั้งแต่ ปี พ.ศ.2513 ชาวกะเหรี่ยงในชุมชนถูกยึดโยงไปตาม สภาพเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมที่เปลี่ยนไป เป็นพลวัตที่ไม่หยุดนิ่ง ทำให้เกิดปรากฏการณ์การสร้างพื้นที่ความรู้ที่เป็น จุดเปลี่ยนสำคัญจากปัจจัยเงื่อนไขของชุมชนกะเหรี่ยง ประกอบด้วย 1) การเสด็จเยี่ยมราษฎรชุมชนกะเหรี่ยงของราชวงศ์ไทย 2) การก่อตั้งโรงเรียนในชุมชนกะเหรี่ยง 3) ชุมชนกะเหรี่ยงหลัง การมรณภาพของครูบาวงศ์ 4) หมู่บ้านรักษาศีล 5 แห่งแรกของประเทศไทย 5) การผลิตสินค้าในชุมชนกะเหรี่ยง และ 6)การท่องเที่ยวโฮมสเตย์ (Home Stay) ในชุมชนกะเหรี่ยง ปรากฏการณ์ดังกล่าวทำให้เกิดปฏิสัมพันธ์ของพื้นที่ความรู้ ประกอบด้วย 1) พื้นที่ความรู้ในด้านศาสนาและวัฒนธรรมในเชิงต่อสู้ต่อรองช่วงชิงความหมายคุณค่าระหว่างหน่วยงานภาครัฐกับชุมชนกะเหรี่ยงต่อการปฏิบัติตนตามคำสอนของครูบาวงศ์ของชาวบ้านโดยเฉพาะเรื่องของศีล 5 และการรับประทานมังสวิรัติ 2) พื้นที่ความรู้ในด้านการศึกษาที่มีปฏิสัมพันธ์ในเชิงปะทะระหว่างความรู้แบบทางการ เกิดการผสมกลมกลืน (Assimilation) ความเป็นไทยกับความรู้ของชุมชนในการสร้างความเป็นตัวตน และ 3) พื้นที่ความรู้ ในด้านอาชีพที่มีปฏิสัมพันธ์ในเชิงความร่วมมือใช้จุดขายให้นักท่องเที่ยวสนใจในเรื่องของการเป็นชุมชนศีล 5 ชุมชนมังสวิรัติ และชุมชนวัฒนธรรมตามวิถีครูบาวงศ์ เกิดการพัฒนาสินค้าชุมชนนำไปสู่การท่องเที่ยวชุมชน เกิดการพัฒนาโฮมสเตย์ เกิดการสร้างงาน รายได้ และช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดียิ่งขึ้น โดยพื้นที่ความรู้ตามคำสอนของครูบาวงศ์ในชุมชนกะเหรี่ยง ประกอบด้วย 1) หลักธรรมศีล 5 และหลักปฏิบัติในชุมชนกะเหรี่ยง ได้แก่ ศีล 5 ข้อปฏิบัติ ข้อห้าม และกฎระเบียบ และการรับประทานมังสวิรัติ 2) การประกอบอาชีพ 3) วิถีการดำเนินชีวิต และ 4) กิจกรรมของชุมชนกะเหรี่ยง ได้แก่ ประเพณีเปลี่ยนผ้าครูบาชัยยะวงศาพัฒนา (ครูบาวงศ์) และการตักบาตรผักen_US
Appears in Collections:EDU: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.