Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79260
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAmporn Jirattikorn-
dc.contributor.advisorPrasit Leepreecha-
dc.contributor.authorNazmul Islamen_US
dc.date.accessioned2023-12-04T17:43:59Z-
dc.date.available2023-12-04T17:43:59Z-
dc.date.issued2023-09-28-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79260-
dc.description.abstractEvidence demonstrates that women in Bangladesh are underrepresented both in engineering education and relevant career domains. Through semi-structured interviews with fifteen female undergraduates, ten female university teachers, and five women in non-teaching engineering roles, the study delves comprehensively into women's experiences in engineering study and relevant careers. It contends that structural impediments predominantly hinder women's engagement in engineering due to the reinforcement of gender norms and stereotypes. However, the study emphasizes individual agency as a counterforce enabling women to surmount these challenges and excel in the field. The intricate interplay between structural factors and individual agency is illuminated, illustrating how socio-cultural barriers, lack of job opportunities, safety concerns, and gender biases can limit women's choices, often channeling them towards teaching rather than non-teaching engineering roles. To address this, the study proposes multi-dimensional interventions operating at individual, familial, societal, and institutional levels. By bolstering self-interest, raising awareness, particularly among parents, increasing female representation among educators, and ensuring job opportunities and security for women, the study advocates a holistic approach to foster women's participation in engineering studies. In summary, this research offers recommendations to bridge the gender gap in engineering education by navigating the interwoven dynamics of structural constraints and individual empowerment, envisioning a more inclusive landscape for women in Bangladesh's engineering sector.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleGender inequality in higher education of engineering studies in Bangladeshen_US
dc.title.alternativeความเหลื่อมล้ำทางเพศในการศึกษาทางวิศวกรรมศาสตร์ระดับอุดมศึกษาในบังกลาเทศen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshEngineering -- Study and teaching (Education, Higher)-
thailis.controlvocab.lcshEngineering -- Bangladesh-
thailis.controlvocab.lcshEquality -- Educational aspects-
thailis.controlvocab.lcshAttitude (Psychology)-
thailis.controlvocab.lcshSex role in the work environment-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาด้านวิศวกรรมศาสตร์และอาชีพที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมศาสตร์ถือเป็นศาสตร์ที่ผู้หญิงมีบทบาทและมีส่วนร่วมน้อยในบังกลาเทศ มีหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าผู้หญิงมีบทบาทน้อยมากทั้งในด้านการศึกษาด้านวิศวกรรมศาสตร์และสาขาอาชีพที่เกี่ยวข้อง งานศึกษาชิ้นนี้เจาะลึกประสบการณ์ของผู้หญิงชาวบังกลาเทศที่กำลังศึกษาในระดับอุดมศึกษาด้านวิศวกรรมศาสตร์และผู้หญิงที่จบการศึกษาด้านวิศวกรรมศาสตร์แล้วและทำงานในสาขาอาชีพที่เกี่ยวข้อง การศึกษาครั้งนี้ใช้การสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างกับนักศึกษาระดับปริญญาตรี 15 คน ครูมหาวิทยาลัย 10 คน และผู้หญิงอีก 5 คน ที่ทำงานบริษัทเอกชนในสาขาอาชีพด้านวิศวกรรม ผลการศึกษาพบว่าอุปสรรคในการเข้าศึกษาต่อและทำงานด้านวิศวกรรมโดยหลักแล้วมาจากบรรทัดฐานและทัศนคติทางเพศที่มีต่อผู้หญิงในสังคมบังกลาเทศ อย่างไรก็ตาม การศึกษานี้เน้อย้ำถึงเจตจำนงของผู้หญิงในฐานะที่เป็นกำลังตอบโต้ที่ช่วยให้ผู้หญิงสามารถเอาชนะความท้าทายต่างๆ และมีความเป็นเลิศในสาขานั้นได้ การศึกษาชี้ให้เห็นว่ามีปัจจัยเชิงโครงสร้าง เช่น อุปสรรคทางสังคมวัฒนธรรม การขาดโอกาสในการทำงาน ความกังวลด้านความปลอดภัย และอคติทางเพศ สามารถจำกัดทางเลือกของผู้หญิง โดยผู้หญิงที่จบการศึกษาด้านวิศวกรรมศาสตร์แล้วมักเลือกที่จะเข้าสู่แนวทางอาชีพด้านการสอนในมหาวิทยาลัยมากกว่าอาชีพด้านวิศวกรรมที่ไม่ใช่การสอน อย่างไรก็ตาม ผู้หญิงจำนวนมากแสดงให้เห็นถึงเจตจำนงเสรีของผู้หญิงในอันที่จะเอาชนะอุปสรรคเชิงโครงสร้าง งานศึกษาชิ้นนี้เสนอมาตรการหลายมิติทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว สังคม และสถาบัน ในการส่งเสริมให้ผู้หญิงเข้าสู่การศึกษาและอาชีพด้านวิศวกรรม อาทิเช่น การส่งเสริมความสนใจในตนเอง สร้างความตระหนักรู้ โดยเฉพาะในหมู่พ่อแม่ผู้ปกครองของผู้หญิง การเพิ่มตัวแทนของผู้หญิงในหมู่นักการศึกษาและการรับประกันโอกาสใน การทำงานและความมั่นคงสำหรับผู้หญิง โดยสรุปงานวิจัยนี้เสนอข้อเสนอแนะเพื่อลดช่องว่างระหว่างเพศในการศึกษาด้านวิศวกรรมศาสตร์โดยพิจารณาถึงพลวัตที่เชื่อมโยงกันของข้อจำกัดทางโครงสร้างและการเสริมอำนาจของแต่ละบุคคล เพื่อสร้างภูมิทัศน์ที่ครอบคลุมมากขึ้นสำหรับผู้หญิงในภาคส่วนวิศวกรรมของบังคลาเทศen_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
640435815 Nazmul Islam (Watermark).pdf1.72 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.