Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79244
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิมลิน เหล่าศิริถาวร-
dc.contributor.authorณฐนน ยิ่งสมัครen_US
dc.date.accessioned2023-12-04T16:42:53Z-
dc.date.available2023-12-04T16:42:53Z-
dc.date.issued2566-08-21-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79244-
dc.description.abstractThis research aims to create a model for classifying research and development projects of the Mae Moh Power Plant based on their commercialization potential. The classification is done using decision tree techniques in conjunction with attributes selection, analyzing data trends with Business Intelligence. The sample group was collected through a survey of research and development projects of the Mae Moh Power Plant that were funded between the years 2008 to 2021, totaling 56 projects. All the projects were classified based on their commercial potential by experts in innovation promotion, collaborating with research organizations. This data was then transformed into Business Intelligence. The analysis using Business Intelligence revealed six characteristics related to the commercialization potential of research and development projects as 1) Patentability, 2) Type of Utilization, 3) Continuous real-world application ability, 4) Progression from previous project, 5) Research institution capability, and 6) Investment size. These six characteristics were used to create a model for classifying the commercialization potential of research and development projects using a decision tree model. The model's performance was tested using a 10-fold cross-validation. This resulted in a highly effective decision tree model with an accuracy of 96.00%, an average precision of 95.89%, and an average recall of 94.75%. This research provides recommendations for managing and organizing projects in line with their commercial potential, divided into three evaluation phases: pre-investment, project execution, and project completion. It was found that evaluating commercial potential in the pre-investment phase is challenging and has a high risk of bias. On the other hand, evaluating commercial potential at the project completion stage provides the most clear-cut results, enabling precise and appropriate project management strategies to be established.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectclassification modelen_US
dc.subjectcommercialization potentialen_US
dc.subjectdecision tree techniqueen_US
dc.titleแบบจำลองการจำแนกของประเภทโครงการวิจัยและพัฒนาโดยใช้เทคนิคต้นไม้ตัดสินใจและการวิเคราะห์ด้วยบิสซิเนสอินเทลลิเจนซ์en_US
dc.title.alternativeClassification model of research and development project using decision tree technique and business intelligence analysisen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashโรงไฟฟ้าแม่เมาะ-
thailis.controlvocab.thashการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย-
thailis.controlvocab.thashธุรกิจอัจฉริยะ-
thailis.controlvocab.thashต้นไม้ตัดสินใจ-
thailis.controlvocab.thashต้นไม้ (ทฤษฎีกราฟ)-
thailis.controlvocab.thashการไฟฟ้า -- วิจัย-
thailis.controlvocab.thashการบริหารโครงการ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างแบบจำลองการจำแนกประเภทโครงการวิจัยและพัฒนาของโรงไฟฟ้าแม่เมาะ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย แบ่งตามศักยภาพเชิงพาณิชย์โดยใช้เทคนิคต้นไม้ตัดสินใจร่วมกับการคัดเลือกคุณลักษณะที่อาจเกี่ยวข้องด้วยการวิเคราะห์แนวโน้มของข้อมูลด้วยบิสซิเนสอินเทลลิเจนซ์ การรวบรวมกลุ่มตัวอย่างได้ทำการสำรวจและรวบรวมจากโครงการวิจัยและพัฒนาของโรงไฟฟ้าแม่เมาะที่มีการลงทุนระหว่างปี 2551 – 2564 จำนวน 56 โครงการ โดยตัวอย่างโครงการทั้งหมดผ่านการจำแนกประเภทศักยภาพเชิงพาณิชย์โดยผู้เชี่ยวชาญด้านการส่งเสริมนวัตกรรมโดยพิจารณาร่วมกับหน่วยงานผู้วิจัย และนำไปสร้างข้อมูลสารสนเทศด้วยบิสซิเนสอินเทลลิเจนซ์ ผลของการวิเคราะห์ด้วยบิสซิเนสอินเทลลิเจนซ์พบคุณลักษณะของโครงการวิจัยและพัฒนาที่มีความสัมพันธ์ต่อศักยภาพเชิงพาณิชย์จำนวน 6 คุณลักษณะได้แก่ 1) ความสามารถในการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา 2) ประเภทของการนำไปใช้ประโยชน์ 3) ความสามารถในการใช้งานจริงอย่างต่อเนื่อง 4) การต่อยอดจากโครงการเดิม 5) ศักยภาพของหน่วยงานวิจัย และ 6) ขนาดของการลงทุน จากนั้นจึงนำคุณลักษณะทั้ง 6 คุณลักษณะไปใช้ในการสร้างแบบจำลองการจำแนกประเภทศักยภาพเชิงพาณิชย์ของโครงการวิจัยและพัฒนาเลือกใช้แบบจำลองต้นไม้ตัดสินใจเป็นตัวแบบ และทดสอบประสิทธิภาพแบบจำลองด้วยกระบวนการทดสอบแบบไขว้ โดยการแบ่งข้อมูลตัวอย่างเป็น 10 ส่วน จากการคัดเลือกคุณลักษณะ ได้อย่างเหมาะสมตามบริบทของข้อมูลส่งผลให้ได้แบบจำลองต้นไม้ตัดสินใจที่มีค่าประสิทธิภาพสูงโดยมีค่าความแม่นยำ (Accuracy) เท่ากับ 96.00% พรีซิชัน (Precision) เฉลี่ยเท่ากับ 95.89% และ รีคอล (Recall) เฉลี่ยเท่ากับ 94.75% โดยงานวิจัยนี้ได้นำเสนอแนวทางการบริหารและจัดการโครงการที่เหมาะสมตามศักยภาพเชิงพาณิชย์ ซึ่งแบ่งการประเมินออกเป็น 3 ระยะได้แก่ ระยะก่อนการลงทุน ระยะระหว่างดำเนินโครงการ และระยะสิ้นสุดโครงการ พบว่าการประเมินศักยภาพเชิงพาณิชย์ระยะก่อนการลงทุนทำได้ยากและมีโอกาสในการเบี่ยงเบนสูง ส่วนการประเมินศักยภาพเชิงพาณิชย์ในระยะสิ้นสุดโครงการจะให้ผลการประเมินที่ชัดเจนที่สุดซึ่งสามารถกำหนดแนวทาง การบริหารและจัดการโครงการได้อย่างชัดเจนและเหมาะสมen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ณฐนน_ยิ่งสมัคร_610631124_ลายน้ำ.pdf2.56 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.