Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79230
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAriya Svetamra-
dc.contributor.advisorPaiboon Hengsuwan-
dc.contributor.authorShuttleworth, Clayton Jamesen_US
dc.date.accessioned2023-12-02T04:05:32Z-
dc.date.available2023-12-02T04:05:32Z-
dc.date.issued2023-07-19-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79230-
dc.description.abstractThis study aimed to explore the performance of drag in Chiang Mai as a glocal phenomenon and to elucidate its relationship with the local performance tradition of kathoey cabaret and its connection to Thai phet. By exploring definitions of drag and how performers in Chiang Mai perform and understand drag, this research aimed to demonstrate how these performers use drag as cultural capital to challenge dominant discourse regarding phet. This was a qualitative study that used in-depth interviews and participant observation to develop a deeper understanding of drag performance in Chiang Mai according to local performers. Participants included 8 drag and cabaret performers from Chiang Mai. This study found that drag performance has become part of a cultural mélange (Pieterse) in Chiang Mai, rather than a unidirectional West-to-East global flow. Drag performance is recognized as a concept that comes from beyond Thailand and was brought into Thailand thanks to a few influential figures—RuPaul Charles, Jai Sira, and Pangina Heals. However, the way performers in Chiang Mai conceptualize drag performance demonstrates that it is a uniquely Thai articulation of the phenomenon. Drag, according to these participants, is ver (over-the-top), individual, and limitless, differentiating it from kathoey cabaret. The way participants talk about drag performance invokes phet in ways that differ from the work of prior scholars (Morris, Jackson, Käng). While the performers use phet terminology (LGBT, gay, saosong, huapok, kathoey) to create distinct categories in some instances, in other instances all of these terms fall into a larger category of kathoey. Participants use the term kathoey to refer at different times to an identity, a feminine presentation, and a ver disposition. This ver element of kathoey is aligned with the ver element of Thai-inflected drag. This alignment allows Thai kathoey to use drag performance as cultural capital (Bourdieu) to actually lend credibility to kathoey’s over-the-top disposition and to challenge dominant discourse about Thai phet.en_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectcabareten_US
dc.subjectdragen_US
dc.subjectkathoeyen_US
dc.subjectpheten_US
dc.subjectLGBTen_US
dc.subjectDrag Performanceen_US
dc.titleEverybody follow VER: glocal Drag performance in Chiang Mai and the challenge to dominant Phet discourseen_US
dc.title.alternativeทุกคนทำตามเว่อร์: การแสดง “แดร็ก” แบบท้องถิ่นผสมสากลในเชียงใหม่ และการท้าทายวาทกรรมหลักเรื่องเพศen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshChiang Mai -- Manners and customs-
thailis.controlvocab.lcshActing-
thailis.controlvocab.lcshActresses-
thailis.controlvocab.lcshIntersexuality-
thailis.controlvocab.lcshGender expression-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทำความเข้าใจการแสดงแดร็กในจังหวัดเชียงใหม่ในฐานะปรากฏการณ์ท้องถิ่นผสมสากล และเพื่ออธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการแสดงกะเทยคาบาเรต์ และกรอบความคิดเรื่องเพศในไทย งานวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่านักแสดงในเชียงใหม่ใช้การแสดงแดร็กเป็นทุนทางวัฒนธรรมเพื่อท้าทายวาทกรรมหลักเรื่องเพศอย่างไร โดยการสำรวจการนิยามเกี่ยวกับการแสดงแดร็กและวิธีที่นักแสดงในเชียงใหม่แสดง และเข้าใจแดร็ก การศึกษานี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพที่ใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก และการสังเกตแบบมีส่วนร่วมเพื่อทำความเข้าใจเกี่ยวกับการแสดงแดร็กในเชียงใหม่ โดยมีกรณีศึกษาคือนักแสดงแดร็กและคาบาเรต์ในเชียงใหม่ 8 คน การศึกษานี้พบว่า การแสดงแดร็กเป็นส่วนหนึ่งของการผสมผสานทางวัฒนธรรมในเชียงใหม่ มิใช่เป็นแค่กระแสโลกแบบทิศทางเดียวจากโลกตะวันตก การแสดงแดร็กเป็นรูปแบบการแสดงที่มาจากต่างประเทศ และถูกนำเข้ามาในประเทศไทยด้วยมีบุคคลสำคัญผู้ทรงอิทธิพล ได้แก่ รูพอล ชาร์ลส์, ไจ๋ ซีร่า, และแพนไจน่า ฮีลส์ อย่างไรก็ตาม แนวความคิดของนักแสดงในเชียงใหม่แสดงให้เห็นว่าการแสดงแดร็กในเชียงใหม่มีรูปแบบที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตามประสบการณ์และความคิดของกรณีศึกษา การแสดงแดร็กมีลักษณะสำคัญ ได้แก่ (1) ความ “เว่อร์” (ความกล้าเกิน หรือ ความเกินพอดี) (2) ความเป็นปัจเจกบุคคล และ (3) ความไร้ขีดจำกัด สามลักษณะสำคัญนี้ทำให้การแสดงแดร็กของไทยแตกต่างจากการแสดงคาบาเรต์ ในการเล่าประสบการณ์ และความคิดเกี่ยวกับการแสดงแดร็ก กลุ่มกรณีศึกษาอ้างถึงเพศในแบบที่แตกต่างจากงานวิจัยเรื่องเพศ (มอร์ริส, แจคสัน, แคง) ในบางกรณีคำศัพท์เฉพาะเกี่ยวกับเพศ (LGBT, เกย์, สาวสอง, หัวโปก, กะเทย) ถูกใช้เพื่อสร้างหมวดหมู่ และรวมกลุ่มคนที่แตกต่างจากคนอื่น ๆ แต่ในบางกรณีคำศัพท์เหล่านี้ทั้งหมดจัดอยู่ในหมวดหมู่ กะเทย ที่กว้าง ซึ่งทำให้คำว่า กะเทย มีความหมายที่หลากหลาย และสามารถเปลี่ยนแปลงได้ โดยคำว่ากะเทยที่ใช้ในวาระที่แตกต่างกัน อาจหมายถึงอัตลักษณ์หนึ่ง การแสดงทางเพศที่มีความเป็นผู้หญิง หรือนิสัยที่เว่อร์ ความเว่อร์ของกะเทยสอดคล้องกับความเว่อร์ของการแสดงแดร็ก ซึ่งทำให้กะเทยสามารถใช้การแสดงแดร็กเป็นทุนทางวัฒนธรรม (บูร์ดิเยอ) ได้ เพื่อให้คุณค่าทางสังคมแก่ความเว่อร์ของกะเทย และเพื่อท้าทายวาทกรรมหลักเรื่องเพศในไทยen_US
Appears in Collections:SOC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630435809 CLAYTON JAMES SHUTTLEWORTH.pdf1.45 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.