Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79211
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSutthathorn Chairuangsri-
dc.contributor.authorPreeyaphat Chaiklangen_US
dc.date.accessioned2023-11-20T10:05:24Z-
dc.date.available2023-11-20T10:05:24Z-
dc.date.issued2020-05-18-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79211-
dc.description.abstractTree planting is a simple tool to bring back the forest area. Therefore, seedling production is one of the important steps in forest restoration. Root pruning can promote the root system development of a nursery tree. However, there are consumed a lot of time and labor. Consequently, Air pruning is another efficient method of propagating seedlings for reforestation projects. The study was aimed to determine the effects of air-pruning technique on the growth rate of framework species seedlings and determined about the production cost. The filed study in Forest restoration research unit (FORRU) tree nursery conditions in Northern and Southern of Thailand. Ten framework tree species studies used to comparing 3 different seedling production processes; 1) using crate - steam lining (COG), 2) air-pruning + crate (CAP) and 3) control (CON). Recorded growth rate of ten tree species every month for 6 month and sixth month collect root dry weight and root architecture included comparison a total cost. The results showed that there was a significant difference (P<.05) of three treatments in their seedling growth rate. In addition, the COG and CAP improved the root system that was effective fibrous root development, reduced mortality rate. Moreover, the economic viability of root air pruning can be reduced total cost and labor. The COG technique was more cost-effective than the other two techniques-producing seedling sat below 20 THB each while CAP may reduce the cost of seedling production in long term time period. Therefore, root air pruning will also help in preparation processes efficiently and management of seedlings production.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleEffects of root air-pruning on framework tree species seedlings production for forest restoration in Northern and Southern Thailanden_US
dc.title.alternativeผลของการใช้อากาศกำจัดรากต่อการผลิตกล้าพรรณไม้โครงสร้างสำหรับฟี้นฟูป่าในภาคเหนือและภาคใต้ของประเทศไทยen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshBiotic communities-
thailis.controlvocab.lcshEnvironmental sciences-
thailis.controlvocab.lcshRoots (Botany)-
thailis.controlvocab.lcshSeedlings-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการฟื้นฟูป่าด้วยพันธุ์ไม้โครงสร้างถือเครื่องมือสำคัญในการช่วยฟื้นฟูระบบนิเวศ วิธีการนี้ ต้องอาศัยกล้าไม้ที่มีคุณภาพหลากหลายชนิด ซึ่งถือเป็นหนึ่งในค่าใช้จ่ายหลักในการการฟื้นฟูป่า งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบกระบวนการผลิตกล้าไม้ 3 แบบ ได้แก่ การเพาะกล้า ในภาชนะพร้อมขนย้าย, การกำจัดรากโดยใช้อากาศในภาชนะพร้อมขนย้าย และการผลิตกล้าแบบ ปกติกับกล้าไม้พรรณไม้โครงสร้างจำนวน 10 ชนิด ในพื้นที่ภาคเหนือ (จังหวัดเชียงใหม่) และกาคใต้ (จังหวัดกระบี่) ของประเทศไทย การทดลองได้ทำการบันทึกข้อมูลการเจริญเติบโตของต้นกล้า ทุกเดือน และหลังจาก 6 เดือนเก็บตัวอย่างเพื่อหาน้ำหนักแห้ง ลักษณะและข้อมูลของราก รวมถึง ค่าใช้จ่ายทั้งหมดของแต่ละวิธี จากผลการศึกษาพบว่ากล้าไม้ทั้ง 10 ชนิดมีอัตราการเจริญเติบโตใน ส่วนของความสูง, เส้นรอบวงคอราก ของพืชแต่ละชุดการทดลองและแต่ละสายพัน ธุ์มีความแตกต่าง กันอย่าง มีนัขสำคัญ (P<.05) นอกจากนี้ยังพบว่าสุขภาพและลักษณะของรากมีความแตกต่างกันอย่าง มีนัยสำคัญ (P<.05) ในบางสายพันธุ์พืช อีกทั้งการผลิตกล้าไม้ในภาชนะพร้อมขนย้าย และการกำจัด รากโดยใช้อากาศในภาชนะพร้อมขนย้าย ให้ผลการศึกษาของระบบรากที่มีการพัฒนาดี โดยการกำจัด รากโดยใช้อากาศสามารถเพิ่มการแตกแขนงของระบบราก และลดปริมาณการขดงอของราก ลดอัตรา การตายของต้นกล้ำา และปริมาณของรากที่งอกทะลุถุงปลูก ซึ่งเป็นสาเหตุที่อันตรายต่อต้นกล้าที่จะขน ย้ายไปยังแปลงฟื้นฟู รวมถึงมีชีวมวลที่มากกว่าเมื่อเทียบกับการผลิตกล้าไม้แบบปกติ อีกทั้งยังพบว่า การผลิตกล้าไม้ด้วยกำจัดรากโดยใช้อากาศ สามารถช่วยลดต้นทุนโดยเฉพาะในส่วนของแรงงานใน การผลิตกล้าไม้ได้ ดังนั้นวิธีการผลิตต้นกล้าแบบการใช้อากาสกำจัดรากสามารถนำไปประยุกต์ใช้เพื่อ การพัฒนาคุณภาพของการผลิตต้นกล้าในจำนวนมากต่อไปen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600531141 ปรียาภัทร์ ใจกลาง.pdf9.27 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.