Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79204
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัชนีกร ทองสุขดี-
dc.contributor.authorปกรณ์ สิทธิราชen_US
dc.date.accessioned2023-11-16T11:18:49Z-
dc.date.available2023-11-16T11:18:49Z-
dc.date.issued2023-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79204-
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to examine the knowledge, understanding, and basic skills of assessing wheelchairs among care providers of children with disabilities attached to the Regional Special Education Center 8, Chiang Mai Province; 2) to develop a wheelchair service curriculum for care providers of children with disabilities attached to the Regional Special Education Center 8, Chiang Mai Province, which evolved from the basic wheelchair service training curriculum of the World Health Organization (2014) using the curriculum development model of Taba (1962); and 3) to evaluate the effectiveness of the wheelchair assessment training curriculum among two groups of population: care providers of children with disabilities attached to the Regional Special Education Center 8, Chiang Mai Province who provided services to 33 disabled students receiving services at home, and a sample onsisting of 1 care provider of children with disabilities who served disabled students within the Regional Special Education Center 8, Chiang Mai Province, and 6 care providers of children with disabilities who served disabled students receiving services at home. The research tools included 1) a questionnaire consisted of knowledge of children with multiple disabilities, wheelchairs, basic wheelchair skills and wheelchair assessment; 2) a wheelchair assessment skills assessment form; 3) a wheelchair assessment training curriculum; and 4) a wheelchair assessment test administered pre- and post-training. The results showed that the developed wheelchair assessment training curriculum had the following effectiveness values: 1) For the training of one care provider, it was found that the effectiveness score of the curriculum from the wheelchair assessment test administered pre- and post-training was 84.12/81.88, which was higher than the set criteria. 2) For the training of six care providers, it was found that the effectiveness score of the curriculum from the wheelchair assessment test administered pre- and post-training was 76.2/78.04, which was lower than the set criteria of 80/80, at 3.8/1.96. However, it is considered significantly acceptable. Therefore, this wheelchair assessment training curriculum is suitable and aligns with the conditions and needs of care providers for children with disabilities, following the guidelines for wheelchair assessment by the World Health Organization (2014) and the curriculum development model of Taba (1962).en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาหลักสูตรอบรมการประเมินรถนั่งคนพิการเพื่อส่งเสริมความสามารถของพี่เลี้ยงเด็กพิการ สังกัดศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 8 จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeDeveloping wheelchair assessment training curriculum to enhance ability of care providers of children with disabilities attached to regional special education center 8, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการศึกษาพิเศษ-
thailis.controlvocab.thashเด็กพิการ-
thailis.controlvocab.thashเด็กพิการ -- การศึกษา-
thailis.controlvocab.thashเก้าอี้สำหรับคนพิการ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความรู้ ความเข้าใจ และทักษะพื้นฐานการประเมิน รถนั่งคนพิการของพี่เลี้ยงเด็กพิการสังกัดศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 8 จังหวัดเชียงใหม่ 2) พัฒนาหลักสูตรการให้บริการรถนั่งคนพิการสำหรับพี่เลี้ยงเด็กพิการสังกัดศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 8 จังหวัดเชียงใหม่ที่พัฒนาจากหลักสูตรอบรมการให้บริการรถนั่งคนพิการระดับพื้นฐานขององค์การอนามัยโลก (2557) โดยใช้รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรของ Taba (1962) และ 3) หาประสิทธิภาพของหลักสูตรอบรมการประเมินรถนั่งคนพิการ กลุ่มประชากร ได้แก่ พี่เลี้ยงเด็กพิการสังกัดศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 8 จังหวัดเชียงใหม่ที่ให้บริการผู้เรียนพิการ ที่รับบริการที่บ้านจำนวน 33 คน และกลุ่มตัวอย่างได้แก่ พี่เลี้ยงเด็กพิการที่ปฏิบัติงานให้บริการ ผู้เรียนพิการที่รับบริการภายในศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 8 จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 1 คน และพี่เลี้ยงเด็กพิการที่ปฏิบัติงานให้บริการผู้เรียนพิการที่รับบริการที่บ้าน จำนวน 6 คน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ 1) แบบสอบถามความรู้เกี่ยวกับเด็กพิการซ้อน รถนั่งคนพิการ ทักษะพื้นฐานรถนั่งคนพิการ และการประเมินรถนั่งคนพิการ 2) แบบประเมินทักษะการประเมินรถนั่งคนพิการ 3) หลักสูตรอบรม การประเมินรถนั่งคนพิการ และ 4) แบบทดสอบการประเมินประนั่งคนพิการระหว่างและหลังอบรม ผลการวิจัยพบว่า หลักสูตรอบรมการประเมินรถนั่งคนพิการที่พัฒนาขึ้นมีค่าประสิทธิภาพของหลักสูตรดังนี้คือ 1) การอบรมพี่เลี้ยง 1 คน พบว่าคะแนนประสิทธิภาพของหลักสูตรจากการทำแบบทดสอบการประเมินรถนั่งคนพิการระหว่างและหลังอบรมเท่ากับ 84.12/81.88 สูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 2) การอบรมพี่เลี้ยง 6 คน พบว่าคะแนนประสิทธิภาพของหลักสูตรจากการทำแบบทดสอบ การประเมินรถนั่งคนพิการระหว่างและหลังอบรมเท่ากับ 76.2/78.04 ต่ำกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้จาก 80/80 อยู่ที่ 3.8/1.96 ถือว่าอยู่ในเกณฑ์ที่รับได้อย่างมีนัยสำคัญ ดังนั้นหลักสูตรอบรมการประเมินรถนั่งคนพิการนี้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพและความต้องการของพี่เลี้ยงเด็กพิการตามแนวทางในการประเมินรถนั่งคนพิการขององค์การ อนามัยโลก (2557) และรูปแบบการพัฒนาหลักสูตรของ Taba (1962)en_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610232034 ปกรณ์ สิทธิราช.pdf20.59 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.