Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79177
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorChitchol Phalaraksh-
dc.contributor.advisorJeeraporn Pekkoh-
dc.contributor.authorOnalenna Maneneen_US
dc.date.accessioned2023-11-13T16:05:43Z-
dc.date.available2023-11-13T16:05:43Z-
dc.date.issued2023-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79177-
dc.description.abstractMae Kha Canal is one of Chiang Mai’s most important waterways that nourishes local agriculture, irrigation, and transportation and provides stormwater drainage to prevent floods. Due to the unregulated rapid urbanization of the city and lack of efficient solid waste and wastewater management systems over the past few decades, the canal has been heavily polluted. This study was conducted to evaluate the canal’s water quality through assessment and analysis of the physico-chemical parameters, the presence of coliform bacteria and the riparian zone landscape condition. The water quality parameters were measured across three seasons in the cool dry, hot dry and rainy seasons from 7 sampling sites along the canal. The physico-chemical parameters consisted of water temperature (WT), pH, electrical conductivity (EC), dissolved oxygen (DO), biochemical oxygen demand (BOD5), ammonium-nitrogen (NH4--N), nitrate-nitrogen (NO3--N), orthophosphate (o-PO43-) and total suspended solids (TSS). Results from this study indicate that the canal has poor water quality and is heavily polluted. This was shown by DO, BOD5, ammonium, phosphate, total and fecal coliform bacteria (TCB and FCB) average concentrations that were beyond the limits of the surface water quality standards for Thailand and/ or EPA standards. Similarly, according to water quality based on the chemical index, the results categorized the canal as heavily polluted (17 – 27) to very heavily polluted (0 – 17). The riparian zone condition was also found to be degraded, contributing to the negative impacts on the water quality. Single factor analysis of variance (ANOVA) indicated significant differences (p < 0.05) between sites for EC, DO, BOD5, NH4--N, NO3--N, o-PO43-, TCB and FCB whereas no significant differences (p > 0.05) was found between sites for WT, pH and TSS. Significant differences (p < 0.05) between seasons were found for WT, pH and TSS. CI had a significant difference between sites and non between seasons. Pearson’s correlation analysis of physico-chemical and biological parameters showed BOD5 to have significant correlations with most parameters, having positive significant correlation with NH4--N (r = 0.734), NO3--N (r = 0.448), o-PO43- (r = 0.702), TCB (r = 0.634) and FCB (r = 0.649), and negative significant correlation with DO (r = -0.697) and TSS (r = -0.536). DO also had negative significant correlation with NH4--N (r = -0.649), o-PO43- (r = -0.549), TCB (r = -0.659) and FCB (r = 0.697). CI was negatively correlated to WT (r = -0.543), EC (r = -0.462), BOD5 (r = -0.611), NH4--N (r = -0.507) and o-PO43- (r = -0.521) whereas positively correlated to DO (r = 0.706). Cluster analysis produced three main clusters or groupings of sites based on similarities of physico-chemical parameters and chemical index.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleEvaluation of water quality using physico-chemical parameters and coliform bacteria of Mae Kha Canal in Chiang Mai, Thailanden_US
dc.title.alternativeการประเมินคุณภาพน้ำโดยใช้ปัจจัยทางกายภาพ-เคมี และโคลิฟอร์ม แบคทีเรีย ของคลองแม่ข่าเชียงใหม่ ประเทศไทยen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshMae Kha Canal-
thailis.controlvocab.lcshWater quality-
thailis.controlvocab.lcshWater quality -- Measurement-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractคลองแม่ข่า เป็นเส้นทางน้ำที่มีความสำคัญมากที่สุดสายหนึ่งของจังหวัดเชียงใหม่ มีการใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตร ชลประทาน และการคมนาคม และยังเป็นทางระบายน้ำเพื่อป้องกันน้ำท่วมอีกด้วย จากความเจริญของเมืองอย่างรวดเร็ว แต่ขาดการจัดการขยะและน้ำเสียที่มีประสิทธิภาพ ในระยะเวลาสองทศวรรษ ส่งผลให้คลองแม่ข่าเกิดการเน่าเสียอย่างรุนแรง การศึกษาในครั้งนี้ เป็นการประเมินคุณภาพน้ำของคลองแม่ข่า โดยใช้ปัจจัยทางกายภาพและเคมี รวมถึงโคลิฟอร์มแบคทีเรีย และสภาพของพื้นที่ริมตลิ่งประกอบกัน การตรวจวัดคุณภาพน้ำในงานวิจัยนี้ ได้ดำเนินการครอบคลุม 3 ฤดู คือ ฤดูหนาว ฤดูร้อน และฤดูฝน โดยเก็บข้อมูลจาก 7 จุดศึกษา ตลอดคลองแม่ข่า ปัจจัยทางกายภาพและเคมีประกอบด้วย อุณหภูมิน้ำ ค่าความเป็นกรด-ด่าง ค่าการนำไฟฟ้า ปริมาณออกซิเจนละลายน้ำ ค่าบีโอดี ค่าแอมโมเนียมไนโตรเจน ค่าไนเตรทไนโตรเจน ค่าออร์โธฟอสเฟต และค่าของแข็งแขวนลอยรวม ผลการศึกษาชี้ว่าคลองแม่ข่ามีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์เสื่อมโทรมมาก โดยค่าออกซิเจนละลายน้ำ ค่าบีโอดี ค่าแอมโมเนียม ค่าฟอสเฟต ค่าโคลิฟอร์มแบคทีเรียรวม และค่าฟีคอลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย อยู่ในเกณฑ์เกินค่ามาตรฐานคุณภาพน้ำผิวดินของประเทศไทย และเกินค่ามาตรฐาณของยูเอสอีพีเอ ซึ่งสอดคล้องกับผลการประเมินด้วยดัชนีทางเคมี ที่ระบุว่าคลองแม่ข่ามีความสกปรก (17-27) ถึงสกปรกมาก (0-17) ส่วนสภาพพื้นที่ริมตลิ่งของคลองแม่ข่า มีความเสื่อมโทรม ซึ่งส่งผลเสียต่อคุณภาพน้ำเช่นกัน จากการวิเคราะห์ความแปรปรวน ระบุว่าค่าการนำไฟฟ้า ค่าออกซิเจนละลายน้ำ ค่าบีโอดี ค่าแอมโมเนียม ค่าไนเตรท ค่าฟอสเฟต ค่าโคลิฟอร์มแบคทีเรียรวม ค่าฟีคอลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย และค่าดัชนีทางเคมี ของแต่ละจุดศึกษา มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ (p < 0.05) ส่วนอุณหภูมิน้ำ ค่าความเป็นกรด-ด่าง และค่าของแข็งแขวนลอยรวม มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญระหว่างฤดูกาล (p < 0.05) ผลจากการวิเคราะห์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ของปัจจัยทางกายภาพ เคมี และชีวภาพ ระบุว่าค่าบีโอดีมีความสัมพันธ์กับปัจจัยอื่นมากที่สุดโดยมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับค่าแอมโมเนียม (r = 0.734) ค่าไนเตรท (r = 0.448) ค่าออร์โธฟอสเฟต (r = 0.702) ค่าโคลิฟอร์มแบคทีเรียรวม (r = 0.634) และค่าฟีคอลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย (r = 0.649) และมีความสัมพันธ์เชิงลบกับค่าออกซิเจนละลายน้ำ (r= -0.697) และค่าของแข็งแขวนลอยรวม (r = -0.536) นอกจากนี้ค่าออกซิเจนละลายน้ำ ยังมีความสัมพันธ์เชิงลบกับค่าแอมโมเนียม (r = -0.649) ค่าออร์โธฟอสเฟต (r = -0.549) ค่าโคลิฟอร์มแบคทีเรียรวม (r = -0.659) และค่าฟีคอลโคลิฟอร์มแบคทีเรีย (r = -0.697) ค่าดัชนีทางเคมีมีความสัมพันธ์เชิงลบกับอุณหภูมิน้ำ (r = -0.543) ค่าการนำไฟฟ้า (r = -0.462) ค่าบีโอดี (r = -0.611) ค่าแอมโมเนียม (r = -0.507) และค่าฟอสเฟต (r = -0.521) และมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับค่าออกซิเจนละลายน้ำ (r = 0.706) จากการวิเคราะห์แบบคลัสเตอร์ โดยอาศัยข้อมูลปัจจัยทางกายภาพและเคมี และค่าดัชนัทางเคมีสามารถแบ่งจุดศึกษาได้เป็น 3 กลุ่มen_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
640535806-ONALENNA MANENE.pdfMaster's Thesis Article1.88 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.