Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79174
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorWannapha Nobnop-
dc.contributor.advisorImjai Chitapanarux-
dc.contributor.authorSaw, Yu Nween_US
dc.date.accessioned2023-11-13T16:02:22Z-
dc.date.available2023-11-13T16:02:22Z-
dc.date.issued2023-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79174-
dc.description.abstractThe objective of the study is to investigate the skin dose when using VB method for PMRT in Helical TomoTherapy treatment planning. The skin dose and dose distribution of the actual delivery plans were measured using OSLDs in the ArcCheck phantom. The target was localized on the ArcCHECK image by 3 mm margin from the phantom surface. The dimension of target, which includes the ArcCHECK’s detectors, with the 4.0 cm width and length 12.0 cm along the phantom. The five treatment plans were generated, one plan without VB application (NoVB) and the four plans with varying of VB thickness on the phantom surface by 0.5 cm (VB0.5), 1.0 cm (VB1.0), 1.5 cm (VB1.5), and 2.0 cm (VB2.0), in treatment planning but absent during irradiation. For measurement analysis, the OSLDs were used for skin dose measurement for the dose difference with the plan and the ionization chamber and the ArcCHECK detectors were used for point dose and dose distribution by investigating the percentage of dose difference and the gamma passing rate. The VB thickness 0.5, 1.0 and 1.5 cm showed acceptable value with 82.08% (VB0.5), 81.65%(VB1.0) and 85.11%(VB1.5) of the prescribed dose and less than 2% for dose difference by 0.37% (VB0.5), -0.11% (VB1.0) and -0.37% (VB1.5) at the center of ArcCHECK. The accuracy of dose distribution showed an acceptable gamma passing rate of 99.8% (VB0.5), 100% (VB1.0), and 90.2% (VB1.5) for gamma criteria by 3%/3mm for absolute dose analysis. However, the gamma passing rate of VB2.0 down to 71.2% of absolute mode for gamma criteria by 3%/3mm. The treatment plans with VB thickness less than 15 mm deliver doses that are comparable to treatment plans without virtual bolus based on gamma analysis. However, the deviation showed a trend increasing when VB thickness increased. The VB2.0 was not acceptable for point dose and dose distribution verification by more than 2% dose difference and less than 90% of gamma passing rate.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleInvestigation of the skin dose using optically stimulated luminescent dosimeters (OSLDs) when utilizing virtual bolus in helical Tomotherapy treatment planning for post-mastectomy radiation therapyen_US
dc.title.alternativeการสำรวจปริมาณรังสีที่บริเวณผิวโดยใช้หัววัดรังสีชนิดแสงกระตุ้น เมื่อใช้วัสดุสมมูลเนื้อเยื่อจำลองในการวางแผนรังสีตัดขวางแบบเกลียวหมุน สำหรับผู้ป่วยมะเร็งเต้านมหลังผ่าตัดen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshDosimeters-
thailis.controlvocab.lcshRadiation dosimetry-
thailis.controlvocab.lcshRadiotherapy-
thailis.controlvocab.thashRadiotherapy-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีจุดประสงค์เพื่อประเมินปริมาณรังสีที่บริเวณผิวเมื่อใช้วัสดุสมมูลเนื้อเยื่อจำลองในการวางแผนรังสีตัดขวางแบบเกลียวหมุนสำหรับผู้ป่วยมะเร็งเต้านมหลังผ่าตัด โดยทำการวัดปริมาณรังสีแบบจุดและการกระจายปริมาณรังสีด้วยหุ่นจำลองหัววัดเรียงแถวทรงกระบอก (ArcCHECK) โครงร่างของอวัยวะเป้าหมายถูกกำหนดตามรูปร่างหุ่นจำลองทรงกระบอกโดยมีระยะห่างจากบริเวณผิวหุ่นจำลองเท่ากับ 3 มิลลิเมตร มีขนาดกว้าง 4.0 เซนติเมตร ยาว 12.0 เซนติเมตร แผนรังสีรักษาเทคนิคภาพนำแบบเกลียวหมุนจำนวน 5 แผน ประกอบด้วย แผนรังสีรักษาที่ไม่มีการใช้วัสดุสมมูลเนื้อเยื่อจำลอง (NoVB) ถูกใช้เป็นแผนรังสีรักษาอ้างอิง และแผนรังสีรักษาที่ใช้วัสดุสมมูลเนื้อเยื่อจำลองที่บริเวณผิวของหุ่นจำลองที่ขนาดความหนา 0.5 เซนติเมตร (VB0.5), 1.0 เซนติเมตร (VB1.0), 1.5 เซนติเมตร (VB1.5) และ 2.0 เซนติเมตร (VB2.0) ถูกสร้างขึ้นสำหรับขั้นตอนการวางแผนและการคำนวณ แต่ไม่ใช้วัสดุสมมูลเนื้อเยื่อจำลองในขั้นตอนการวัดและการฉายรังสี การเปรียบเทียบปริมาณรังสีที่ได้จากการคำนวณและการวัดโดยใช้หัววัดรังสีชนิดแสงกระตุ้นเพื่อประเมินปริมาณรังสีที่บริเวณผิว และหัววัดชนิดประจุแตกตัวเพื่อประเมินปริมาณรังสีแบบจุดด้วยตัวแปรอัตราผ่านแกมม่าและร้อยละความแตกต่างของปริมาณรังสี การศึกษาพบว่าแผนรังสีรักษาที่ใช้วัสดุสมมูลเนื้อเยื่อจำลองที่บริเวณผิวของหุ่นจำลองที่ขนาดความหนา 0.5 ถึง 1.5 เซนติเมตร แสดงร้อยละปริมาณรังสีที่บริเวณผิวของหุ่นจำลองได้เท่ากับ ร้อยละ 82.08 (VB0.5), 81.65 (VB1.0) และ 85.11 (VB1.5) ของปริมารรังสีที่แพทย์กำหนด และมีค่าร้อยละความแตกต่างปริมาณรังสีระหว่างการคำนวณการวัดที่บริเวณกึ่งกลางหุ่นจำลองน้อยกว่าร้อยละ 2 ได้แก่ ร้อยละ 0.37, 0.11 และ -0.37 สำหรับความหนาของวัสดุสมมูลเนื้อเยื่อจำลอง 0.5, 1.0 และ 1.5 เซนติเมตร ตามลำดับ โดยสามารถให้อัตราผ่านแกมม่าที่เกณฑ์ความแตกต่างปริมาณรังสีร้อยละ 3 ระยะห่างปริมาณรังสีเดียวกันเท่ากับ 3 มิลลิเมตร (3%/3mm) มากกว่าร้อยละ 90 ซึ่งถือเป็นเกณฑ์ที่ยอมรับได้ คือ ร้อยละ 99.8 (VB0.5), ร้อยละ 100.0 (VB1.0) และร้อยละ 90.2 (VB1.5) อย่างไรก็ตามอัตราผ่านแกมม่าของความหนาของวัสดุสมมูลเนื้อเยื่อจำลองขนาด 2 เซนติเมตร มีค่าต่ำลงเท่ากับร้อยละ 71.2 ซึ่งไม่อยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ จึงสรุปได้ว่าการประยุกต์ใช้ความหนาของวัสดุสมมูลเนื้อเยื่อจำลองขนาด 0.5-1.5 เซนติเมตรในขั้นตอนการวางแผนรังสีรักษาสามารถให้ค่าปริมาณรังสีที่ได้จากการวัดและการคำนวณไม่แตกต่างกัน แต่การใช้ความหนาของวัสดุสมมูลเนื้อเยื่อจำลองที่มีขนาดมากกว่า 2.0 เซนติเมตร จะทำให้เกิดความแตกต่างของปริมาณรังสีระหว่างการวัดและการคำนวณมากกว่าร้อยละ 2 และการกระจายปริมาณรังสีมีอัตราผ่านแกมม่าน้อยกว่าร้อยละ 90en_US
Appears in Collections:MED: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620731018-Saw Yu Nwe.pdf1.09 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.