Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79155
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธเนศวร์ เจริญเมือง-
dc.contributor.authorศรราม มูลวิไชยen_US
dc.date.accessioned2023-11-08T10:22:20Z-
dc.date.available2023-11-08T10:22:20Z-
dc.date.issued2566-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79155-
dc.description.abstractThis research aims 1) to study and analyze the legal relationships between the provincial government and local government organizations in managing the problems of the coronavirus disease 2019; 2) to study and analyze the practical relationships between provincial government and local government organizations. in managing the problem of the coronavirus disease 2019; and 3) to identify and analyze the problems, obstacles, and limited operations as well as to make solution proposals to those problems. Methodology for qualitative research methods. Gathered data by interviewing 2 groups of key formants. There are the provincial government groups and the local government groups consisted of 10 people each, totaling 20 people. Data were collected from the study, analysis of documentary data and semi-structured interviews. participatory observation. The results of the research are: 1) the legal relationships did not change the relationship patterns from the existing laws. In addition, the Disease Control Operations Center (CDC) at all 3 levels, namely district, sub-district, and municipality, was established to deal with the coronavirus disease 2019 infection problems; 2) In practical relationships, the provincial government orders local government organizations through the operations center to take action on Coronavirus Disease 2019; 3) Problems and obstacles encountered are 1. Budget limits 2. Problems of management intervention by the regional level 3. Lack of independence in operations 4. Problems of delays in the bureaucratic system From the results of the study, there are suggestions. 1) Emphasis should be placed on the decentralization of fiscal power to allow local government organizations to have more freedom in collecting and managing revenues; 2) Abolish unnecessary governmental structures; and 3) Clearly identify the role and authorities of each regional bureaucratic unit and allow freedom in decision making to local government units.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างราชการส่วนภูมิภาคและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการจัดการแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อำเภอดอกคำใต้ จังหวัดพะเยาen_US
dc.title.alternativePower relations between the regional administrative and the local administrative organizations in managing and solving the coronavirus disease 2019 pandemic, Doc Khamtai District, Phayao Province, During B.E. 2562-2564en_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการปกครองท้องถิ่น -- ดอกคำใต้ (พะเยา)-
thailis.controlvocab.thashโคโรนาไวรัส -- ดอกคำใต้ (พะเยา)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ลักษณะความสัมพันธ์ทางกฎหมายระหว่างราชการส่วนภูมิภาคและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการจัดการแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 2) เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ลักษณะความสัมพันธ์ทางปฏิบัติระหว่างราชการส่วนภูมิภาคและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการจัดการแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 3) เพื่อทราบถึงปัญหา อุปสรรค และข้อจำกัด ในการปฏิบัติงาน รวมทั้งเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาความสัมพันธ์ มีรูปแบบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ แบ่งเป็น 2 กลุ่มคือ กลุ่มราชการส่วนภูมิภาคและกลุ่มราชการส่วนท้องถิ่น กลุ่มละ 10 คน รวมทั้งสิ้น 20 คน มีการเก็บข้อมูลจากศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลเอกสารและสัมภาษณ์ แบบกึ่งโครงสร้าง การสังเกตแบบมีส่วนร่วม ผลการศึกษาพบว่า 1) ความสัมพันธ์ทางกฎหมายไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลง รูปแบบความสัมพันธ์จากกฎหมายที่ให้อำนาจยังคงเดิม และมีการตั้งศูนย์ปฏิบัติการควบคุมโรค (ศปก.) ทั้ง 3 ระดับ คือ อำเภอ ตำบล และเทศบาล ในการแก้ไขปัญหาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 2) ความสัมพันธ์ทางปฏิบัติ ราชการส่วนภูมิภาคมีการสั่งการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นผ่าน ศูนย์ปฏิบัติการฯ(ศปก.) ให้ดำเนินการแก้ไขปัญหาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 3) ปัญหา อุปสรรคที่พบคือ 1.ปัญหาด้านงบประมาณ 2.ปัญหาการแทรกแซงการบริหารงานขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น 3.องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขาดอิสระในการปฏิบัติงาน 4.ปัญหาความล่าช้าของระบบราชการ จากที่ผลการศึกษาข้างต้น ได้ตอกย้ำให้เห็นอีกครั้งถึงความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างราชการส่วนภูมิภาคและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ไม่เท่าเทียมกัน แม้ในภาวะวิกฤตด้าน โรคระบาดก็ตามยิ่งสะท้อนความความพันธ์ที่ไม่เท่าเทียมนี้ชัดเจนยิ่งขึ้น ดังผลการศึกษาดังที่ได้กล่าวมาตั้งแต่ต้น ก็ยังคงแสดงถึงความความสัมพันธ์ที่ไม่เท่าเทียม ข้อจำกัดแบบเดิม แม้ในภาวะวิกฤต จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องปรับความสัมพันธ์เชิงอำนาจที่ ไม่เท่าเทียมนี้ โดยมีข้อเสนอแนะ ดังนี้ 1) เน้นการกระจายอำนาจด้านการคลังให้องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นมีอิสระในการจัดเก็บและบริหารเงินรายได้มากขึ้น 2) ยุบเลิกโครงสร้าง ส่วนราชการที่ไม่จำเป็น 3) กำหนดอำนาจหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ชัดเจนและให้อิสระในการตัดสินใจงานที่ได้รับมอบนั้นen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631932072 - ศรราม มูลวิไชย .pdf1.15 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.