Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79119
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุภัทร ชูประดิษฐ์-
dc.contributor.advisorวรรณนิภา บุญระยอง-
dc.contributor.authorณัฏฐนิช จุมปาทองen_US
dc.date.accessioned2023-10-28T10:41:36Z-
dc.date.available2023-10-28T10:41:36Z-
dc.date.issued2564-12-17-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79119-
dc.description.abstractThis study aimed to develop and evaluate the effects of a stress management program on stress and occupation of Chiang Mai University Students. This study adopted a quasi-experimental one-group, pretest-posttest design. The participants were twenty-four Chiang Mai University students who have moderate to severe stress levels measured by Suanprung Stress Test-20 (SPST-20) affecting their daily activities. They were separated into two groups including a controlled group of 12 participants who live their daily life, and an experimental group of 12 participants who participated in 8 sessions during 8 weeks in a stress management program containing stress management skills and stress relaxation techniques. The used outcome assessments adopted in this study included the Suanprung Stress Test-60 (SPST-60) and the Canadian Occupational Performance Measure (COPM) that were used before and after participating in the program. Data were analyzed using descriptive statistics to analyze the demographic characteristics of the participants. Additionally, the Wilcoxon signed-rank test and Mamn - Whitney U test were used for comparing the stress level, occupational performance level, and satisfaction in performing occupations. The level of statistical significance O was set at 0.05. As a result of the first aim of this research work, a stress management program, there was an experimental group participated the program which consisted of two parts; 60 minutes with stress management skills including coping with emotional awareness according to the Vipassana- Kammatthana principle, the Four Foundations of Mindfulness and cognitive behavioral therapy, and 30 minutes with stress relaxation techniques containing diaphragmatic breathing techniques and progressive muscle relaxation. Regarding the effects of stress management program with participants, the data analysis showed after comparing the data between before and after the program participation, the stress level of the experimental group was reduced and their occupational performance and satisfaction in performing occupations were increased as statistical significance (p <0.05). Moreover, the stress level, occupational performance, and satisfaction in performing occupations of participants from the experimental group who participated in the program were different from the participants from the controlled group as statistical significance (p<0.05). Therefore, the result shows that the stress management program had the ability to decrease stress and to improve occupational performance and satisfaction in performing occupations of Chiang Mai University students.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของโปรแกรมจัดการความเครียดต่อความเครียดและการทำกิจกรรมการดำเนินชีวิตของนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeEffect of stress management program on stress and occupation of Chiang Mai University studentsen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ -- นักศึกษา-
thailis.controlvocab.thashนักศึกษา -- การดำเนินชีวิต-
thailis.controlvocab.thashการดำเนินชีวิต-
thailis.controlvocab.thashความเครียด (จิตวิทยา)-
thailis.controlvocab.thashการบริหารความเครียดสำหรับวัยรุ่น-
thailis.controlvocab.thashการบริหารความเครียด-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและศึกษาผลของโปรแกรมจัดการความเครียคต่อ ความเครียดและการทำกิจกรรมการดำเนินชีวิตของนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นการวิจัยกึ่ง ทดลองตามแผนการวิจัยแบบสองกลุ่ม กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ที่มี ความเครียดอยู่ในระดับปานกลางถึงรุนแรงจากการวัดด้วยแบบวัดความเครียดสวนปรุง ชุด 20 ข้อ (SPST-20) และความเครียดที่เกิดขึ้นส่งผลต่อการทำกิจกรรมการดำเนินชีวิต จำนวน 24 คน แบ่งเป็น กลุ่มควบคุม 12 คน และกลุ่มทดลอง 12 คน เครื่องมือที่ใช้วัดผลของไปรแกรม ได้แก่ แบบวัค ความเครียดสวนปรุง ชุด 60 ข้อ (SPST-60) และแบบประเมิน The Canadian Occupational Performance Measure (COPM) ประเมินก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรม ใช้สถิติเชิงพรรณนา วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง สถิติ Wilcoxon signed - rank test และ Mann - Whitney U test วิเคราะห์ความแต่กต่างของความเครียด ความสามารถและความพึงพอใจต่อความสามารถในการทำ กิจกรรมการคำเนินชีวิตของกลุ่มตัวอย่าง ผลการพัฒนาโปรแกรมจัดการความเครียดเพื่อตอบวัตถุประสงค์แรกของงานวิจัยนี้ ได้โปรแกรมแกรม จัดการความเครียด จำนวน 8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 1 ครั้งครั้งละ 90 นาที แบ่งออกเป็น 2 ช่วง ประกอบด้วย ช่วงทักษะการจัดการความเครียด 60 นาทีด้วยเทคนิคการกำหนดรู้เกี่ยวกับอารมณ์ ตามหลักวิปัสสนา กรรมฐานแนวสติปัฏฐานสี่ และการบำบัดทางความคิดและพฤติกรรม และ ช่วงเทคนิคการผ่อนคลาย ความเครียด 30 นาทีด้วยเทคนิคการหายใจ โดยใช้กะบังลมและการผ่อนคลายกล้ามเนื้อตามลำดับ ผลการ วิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบคะแนนระหว่างก่อนและหลังการทดลองพบว่า หลังเข้าร่วมโปรแกรม จัดการความเครียดนักศึกษากลุ่มทดลองมีระดับความเครียดลดลงและคะแนนความสามารถและคะแนน ความพึงพอใจต่อความสามารถในการทำกิจกรรมการดำเนินชีวิตเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) หลังเข้าร่วมโปรแกรมจัดการความเครียดนักศึกษากลุ่มทดลองมีระดับความเครียดและมี คะแนนความสามารถและคะแนนความพึงพอใจต่อความสามารถในการทำกิจกรรมการดำเนินชีวิต แตกต่างจากนักศึกษากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่า โปรแกรมจัดการความเครียดนี้สามารถช่วยลดความเรียดและเพิ่มความสามารถและความพึงพอใจต่อ ความสามารถในการทำกิจกรรมการดำเนินชีวิตของนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
Appears in Collections:AMS: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621131012 ณัฏฐนิช จุมปาทอง.pdf2.68 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.