Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79107
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorทรงยศ กิจธรรมเกษร-
dc.contributor.authorกฤติน เจนสิราสุรัชต์en_US
dc.date.accessioned2023-10-28T09:06:12Z-
dc.date.available2023-10-28T09:06:12Z-
dc.date.issued2565-01-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79107-
dc.description.abstractEmergency Medical Service (EMS) plays a significant role in reducing death and injury. The EMS can save lives with a fast response time to reach cases and sufficient service stations. This study aims to efficiently locate emergency medical service stations in Tak province by using the Maximal Covering Location Model (MCLP). The number of accidents and the response time of the EMS to reach incident sites are used. The results show decreasing in the number of locations with more range of coverage. In addition, 25 stations of Basic Life Support unit (BLS) and First Responder unit(FR) are proposed to cooperate with 12 hospitals. The proposed method (37 stations in total) shows 96.50% of total accident are covered compared to normal situation (55 stations) which can cover only 91.03% of total accident. This result shows better efficiency by decreasing the number of station.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการวิเคราะห์ตำแหน่งจุดบริการทางแพทย์ฉุกเฉินที่มีศักยภาพเหมาะสมบนทางหลวงจังหวัดตากโดยตัวแบบครอบคลุมความต้องการสูงสุดen_US
dc.title.alternativeAnalysis of potential emergency medical services stations on highway in Tak Province using maximal covering location problem modelen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashทางหลวง -- อุบัติเหตุ-
thailis.controlvocab.thashสถานพยาบาล -- บริการฉุกเฉิน-
thailis.controlvocab.thashบริการเวชศาสตร์ฉุกเฉิน-
thailis.controlvocab.thashบริการทางการแพทย์-
thailis.controlvocab.thashทางหลวง -- ตาก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractจุดบริการทางการแพทย์ฉุกเฉินมีความสำคัญอย่างยิ่งในการช่วยเหลือและเพิ่มโอกาสในการ รอดชีวิตของผู้ประสบอุบัติเหตุ ด้วยระยะเวลาการตอบสนองในการเข้าถึงจุดเกิดเหตุได้อย่างรวดเร็ว และมีจุดบริการที่เพียงพอต่อจำนวนอุบัติเหตุ งานวิจัยนี้นำเสนอการตั้งตำแหน่งจุดบริการทาง การแพทย์ฉุกเฉินในจังหวัดตาก โดยใช้วิธีการจัดสรรตำแหน่งที่สามารถครอบคลุมความต้องการของ ผู้ป่วยฉุกเฉินให้มากที่สุด (Maximal Covering Location Problem; MCLP) จำนวนอุบัติเหตุ และ ระยะเวลาการตอบสนองของจุดบริการทางแพทย์ฉุกเฉิน ในการเข้าถึงจุดเกิดเหตุ ถูกนำมาใช้เป็น ข้อมูลในการวิเคราะห์หาตำแหน่งที่ตั้งจุดบริการทางการแพทย์ฉุกเฉิน ผลจากการศึกษาจุดบริการทาง การแพทย์ฉุกเฉินด้วยแบบจำลอง MCIP พบว่า การวิเคราะห์ด้วยแบบจำลองมีจำนวนจุดบริการลดลง และสามารถครอบคลุมจำนวนอุบัติเหตุได้มากกว่าจุดบริการ ในปัจจุบัน จึงได้นำเสนอวางตำแหน่งจุด บริการที่มีหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉินขั้นต้น (Basic Life Support; BLS) และหน่วยปฏิบัติการฉุกเฉิน เบื้องตัน (First Responder; FR) จำนวน 25 จุด ร่วมกับโรงพยาบาลหลัก 12 จุด รวมทั้งหมด 37 จุด โดยสามารถครอบคลุมจำนวนอุบัติเหตุได้ร้อยละ 96.50 ของจำนวนอุบัติเหตุทั้งหมดเมื่อเปรียบเทียบ กับจุดบริการในปัจจุบัน 55 จุด ที่สามารถครอบคลุมจำนวนอุบัติเหตุได้ร้อยละ 91.03 ของจำนวน อุบัติเหตุทั้งหมด ซึ่งแนวทางนี้สามารถลดจำนวนจุดบริการจากเดิมในปัจจุบันได้มากถึง 18 จุดen_US
Appears in Collections:ENG: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620631072 กฤติน เจนสิราสุรัชต์.pdf7.35 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.