Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79051
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอักษรา ทองประชุม-
dc.contributor.advisorจักรกฤษณ์ วังราษฎร์-
dc.contributor.authorนิรัชพร สมฤษคูณen_US
dc.date.accessioned2023-10-15T05:05:30Z-
dc.date.available2023-10-15T05:05:30Z-
dc.date.issued2566-05-18-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79051-
dc.description.abstractThis research and development (R&D) study aims to develop the motion graphic for skin diseases prevention and to evaluate the effectiveness of using motion graphics to prevent skin diseases in novice at Doisaket Phadungsasana school, Doi Saket, Chiang Mai province. The ADDIE MODEL concept was applied in this study. This study was divided into 3 phases; Phase 1: the situation analysis through in-depth interviews with key informants who are responsible for health promotion and disease prevention in novice and the representative of novices. Phase 2: Motion graphics development which was evaluated by five professionals. Phase 3: Evaluate the effectiveness of motion graphics by comparing knowledge before and after watching the motion graphic, satisfaction, and media performance in 43 novices. A motion graphic developed using the ADDIE MODEL concept provides audiences information on for skin disease prevention in novices through animation, sound effects, and audio description. The media is about three minutes length. It was found that the evaluation of motion graphic quality by professionals was at an excellent level in overall (x̅ =100.60, S.D.=2.07) as well as in each of four categories; the content, suitability, and media effectiveness, and feasibility. Regarding evaluation of knowledge of novices before and after observing motion graphics, the mean knowledge score after observing the motion graphic was higher than before observing the motion graphic statistically significant (p<0.001), the mean knowledge scores before and after observing the motion graphic were 16.37 ± 3. 27 and 19.98 ± 2.37, respectively. The satisfaction of novices with motion graphic was evaluated. After observing the media, it was found that satisfaction in all four parts was at a high level in overall (x̅ =93.48, S.D. =7.90). The efficiency of E1/E2 was also measured by adjusting the efficiency measure to 60/ 60 among individual testing (1:3), group testing (1:10), and field testing (1:30). The efficiency results were 65. 42/ 84. 58, 80. 42/91.67, and 64. 46/ 80. 30, respectively. The findings from this study indicated that the motion graphic is suitable for novice group and had a high satisfaction and efficacy. In addition, this motion graphic can increase the knowledge among novices after observing the media. Therefore, it should be utilized and evaluated further the knowledge and practice among notice for skin disease prevention.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectสื่อโมชันกราฟิกเen_US
dc.titleการพัฒนาสื่อโมชันกราฟิกเพื่อป้องกันโรคผิวหนังสำหรับสามเณร ในโรงเรียนพระปริยัติธรรม จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeDevelopment of motion graphics for skin diseases prevention among novice at Pharapariyattidhamma School, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.thashโรงเรียนดอยสะเก็ดผดุงศาสน์-
thailis.controlvocab.thashโรงเรียนพระปริยัติธรรม-
thailis.controlvocab.thashผิวหนัง -- โรค-
thailis.controlvocab.thashผิวหนัง -- การดูแลและสุขวิทยา-
thailis.controlvocab.thashสามเณร -- สุขภาพและอนามัย-
thailis.controlvocab.thashสื่อการสอน-
thailis.controlvocab.thashการสอนด้วยสื่อ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา (Research & Development) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนาสื่อโมชันกราฟิกเพื่อป้องกันโรคผิวหนังสำหรับสามเณรและศึกษาผลของการใช้สื่อโมชัน กราฟิกเพื่อป้องกันโรคผิวหนังในสามเณร โรงเรียนดอยสะเก็ดผดุงศาสน์ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัด เชียงใหม่ โดยใช้แนวคิด ADDIE MODEL มาเป็นแนวในการพัฒนาสื่อ การวิจัยแบ่งเป็น 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการของการผลิตสื่อโมชันกราฟิก โดยทำการสัมภาษณ์ใน บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานส่งเสริมป้องกันโรคในสามเณรและตัวแทนสามเณร ระยะที่ 2 พัฒนาสื่อโมชันกราฟิก ประเมินคุณภาพสื่อโดยผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน และระยะที่ 3 ประเมินผล โดยวัด ความรู้ก่อนและหลังการรับสื่อ ประเมินความพึงพอใจ รวมทั้งทดสอบประสิทธิภาพของสื่อใน สามเณรหลังรับชมสื่อทั้งหมดจำนวน 43 รูป ผลการวิจัยพบว่า สื่อที่ได้พัฒนาขึ้นจากการวิจัย คือ สื่อโมชันกราฟิกที่มีการนำเสนอข้อมูล เกี่ยวกับโรคกลากและโรคเกลื้อน ที่สื่อสารด้วยภาพเคลื่อนไหว มีเสียงประกอบและเสียงบรรยายที่ สามารถดึงดูดความสนใจ ความยาวของสื่อประมาณ 3 นาที โดยการประเมินคุณภาพสื่อโมชันกราฟิก เพื่อป้องกันโรคผิวหนังสำหรับสามเณรในกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ สื่อมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก ทั้ง 4 ด้าน (x̅ = 100.60, S.D.=2.07) ทั้งด้านเนื้อหา ความเหมาะสมและสวยงาม ประสิทธิภาพของสื่อ และความ เป็นไปได้ของการนำไปใช้ จากการวิเคราะห์ผลการประเมินในสามเณร ผลการทดสอบความรู้ก่อน และหลังรับชมสื่อโมชันกราฟิก หลังรับชมสื่อกลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยของความรู้เกี่ยวกับโรค ผิวหนังสูงกว่าก่อนรับชมสื่อโมชันกราฟิกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) โคยค่าเฉลี่ยคะแนน ความรู้ก่อนและหลังรับสื่อเท่ากับ 16.37 ±3.27 และ 19.98 ±2.37 ตามลำดับ การประเมินความพึงพอใจ ของสามเณรต่อสื่อโมชันกราฟิกเพื่อป้องกันโรคผิวหนัง พบว่าภายหลังการรับชมสื่อ ความพึงพอใจ ในภาพรวมทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับความพึงพอใจมาก (x̅ = 93.48, S.D. = 7.90) ความพึงพอใจรายค้านอยู่ ในระดับมากทุกค้าน ทั้งค้านเนื้อหา ความเหมาะสมและสวยงาม ประสิทธิภาพของสื่อ และความ เป็นไปได้ของการนำไปใช้ นอกจากนี้ผลการทคสอบประสิทธิภาพสื่อโมชันกราฟิกเพื่อป้องกันโรค ผิวหนัง โดยการหาประสิทธิภาพของผลลัพธ์ E1/E2 โดยกำหนดเกณฑ์การหาประสิทธิภาพเท่ากับ 60/60 ในการทดสอบประสิทธิภาพแบบเดี่ยว (1:3) ทดสอบประสิทธิภาพแบบกลุ่ม (1:10) และ ทดสอบประสิทธิภาพภาคสนาม (1:30) นั้น ผลการหาประสิทธิภาพได้ค่าประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ที่ กำหนดไว้อยู่ที่ 65/84, 80/91 และ 64/80 ตามลำคับ จากผลวิจัยแสดงให้เห็นว่าสื่อโมชันกราฟิกที่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมกับกลุ่มสามเณร และ ความพึงพอใจของผู้ใช้สื่อและประสิทธิภาพของสื่อโมชันกราฟิกเพื่อป้องกันโรคผิวหนังสำหรับ สามเณรอยู่ในระดับมาก นอกจากนี้ยังเพิ่มความรู้ในการป้องกันโรคผิวหนังในกลุ่มสามเณร หากนำ สื่อโมชันกราฟิกที่พัฒนาขึ้นไปใช้ในกลุ่มสามณรอาจส่งผลต่อการเพิ่มขึ้นของความรู้และการปฏิบัติ ตนในการป้องกันโรคผิวหนังต่อไปen_US
thesis.concealPublish (Not conceal)en_US
Appears in Collections:PH: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
612232027 นิรัชพร สมฤกษคูณ.pdf3.91 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.