Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79036
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorNannaphat Saenghong-
dc.contributor.advisorNongyao Nawarat-
dc.contributor.advisorPrasit Leepreecha-
dc.contributor.authorNatcha Promsrien_US
dc.date.accessioned2023-10-15T03:57:29Z-
dc.date.available2023-10-15T03:57:29Z-
dc.date.issued2023-05-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79036-
dc.description.abstractThe aim of this research is to enhance multicultural learning and improve the skills of primary school students and teachers in visual media production. This is achieved through the implementation of participatory media production processes. The study incorporates three key concepts: tolerance (Sonia Nieto, 1993), communication action (Habermas, 1981), and the use of visual media. It takes place in a diverse primary school, encompassing various aspects of diversity such as ethnicity, race, language, gender, and socio-economic backgrounds. The participants involved in the study include primary school students, teachers, school committees, local cultural experts, and the school principal. Both qualitative and quantitative data were collected using a participatory action research methodology. Qualitative data collection methods involved conducting semi-structured interviews, participant and non-participant observations, and analyzing students' work. Quantitative data were gathered through the use of scales to measure multicultural competence and visual media production competence. The findings highlight three main steps in the implementation of participatory media production processes for promoting multicultural learning: comprehensive knowledge preparation in multicultural education, engaging in actions by creating storybooks and visual media centered on multicultural issues, and utilizing these resources for multicultural learning. These steps are guided by four principles: creating a safe space for expressing opinions, ensuring equal power dynamics among students, teachers, and participants, and selecting relevant stories or issues that resonate with students' lives, interests, and diversity. The study reveals moderate developments in multicultural competence and visual media production competency among students, while teachers exhibit a moderate development in multicultural competence and a high level of development in visual media production competency. The research emphasizes the importance of supportive factors such as positive attitudes from school administrators and the interest of teachers and students in multicultural education for the effective implementation of participatory media production processes. However, the study also acknowledges challenges related to teacher workload, students' readiness, and time constraints. By addressing these challenges and leveraging the supportive factors, the study suggests that the implementation of participatory media production processes can lead to significant advancements in multicultural learning and visual media production skills for both students and teachers. Keywords: Multicultural learning, multicultural education, media production, participatory process, multicultural competenceen_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleDeveloping participatory teaching materials to promote multicultural learning for primary school classroomen_US
dc.title.alternativeการผลิตสื่อการศึกษาเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้พหุวัฒนธรรมสำหรับห้องเรียนประถมศึกษาโดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshMulticultural education-
thailis.controlvocab.lcshMulticultural education -- Activity programs-
thailis.controlvocab.lcshEducation, Elementary-
thailis.controlvocab.lcshEducation, Elementary -- Activity programs-
thailis.controlvocab.lcshTeaching -- Aids and devices-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนากระบวนการผลิตสื่ออย่างมีส่วนร่วม เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้พหุวัฒนธรรมสำหรับห้องเรียนประถมศึกษา การพัฒนาสมรรถนะของนักเรียนและครู และวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้พหุวัฒนธรรมของนักเรียนประถมศึกษาโดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วม โดยใช้ 3 แนวคิด ได้แก่ แนวคิดความเป็นพหุวัฒนธรรมระดับอดทนของ Sonia Nieto (1993) แนวคิดการกระทำเชิงการสื่อสารของ Habermas (1981) และ แนวคิดเกี่ยวกับสื่อวีดิทัศน์ งานวิจัยชิ้นนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research) เก็บรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง การสังเกตแบบมีส่วนร่วมและไม่มีส่วนร่วม และเก็บข้อมูลเชิงปริมาณด้วยแบบวัดสมรรถนะพหุวัฒนธรรม และแบบวัดสมรรถนะกรรผลิตสื่อวีดีทัศน์สำหรับนักเรียนและครู ผู้วิจัยเลือกพื้นที่วิจัยแบบเฉพาะเจาะจงซึ่งเป็นโรงเรียนประถมศึกษาที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม ได้แก่ ชาติพันธุ์ เชื้อชาติ ภาษา เพศ สถานะทางเศรษฐกิจและสังคม ผลการวิจับพบว่ากระบวนการผลิตสื่ออย่างมีส่วนร่วมสามารถส่งเสริมการเรียนรู้พหุวัฒนธรรมให้กับสถานศึกษา ผู้บริหาร ครู นักเรียนได้ ประกอบด้วย ได้แก่ 1) ขั้นตอนสร้างต้นทุนความรู้เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลง โดยสร้างองค์ความรู้การจัดการศึกษาพหุวัฒนธรรมให้กับครูและการองค์ความรู้การผลิตสื่อที่เชื่อมโยงกับประสบการณ์ของนักเรียน 2) ขั้นตอนกระทำการเพื่อก้าวสู่การเรียนรู้พหุวัฒนธรรม โดยการให้ครูและนักเรียนมีส่วนร่วมในการผลิตสื่อการเรียนรู้ร่วมกัน ได้แก่ สื่อวีดีทัศน์ และสื่อนิทาน และ 3) ขั้นตอนการได้สื่อพร้อมใช้สำหรับการเรียนรู้พหุวัฒนธรรม การผลิตสื่อการเรียนรู้พหุวัฒนธรรมโดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมต้องอาศัยหลักการสำคัญ 4 ประการ คือ 1) การสร้างพื้นที่ปลอดภัยในการแสดงความคิดเห็น 2) กระบวนการมีส่วนร่วม 3) ความสัมพันธ์เชิงอำนาจที่เท่าเทียมกันระหว่างนักเรียน ครูและผู้มีส่วนร่วม และ และ 4) การเลือกเรื่องราวหรือประเด็นใกล้ตัวหรือเชื่อมโยงหรือสอดคล้องกับวิถีชีวิตของนักเรียน ประเด็นที่นักเรียนในวัยประถมศึกษาให้ความสนใจ และเป็นประเด็นที่มีความหลากหลาย การผลิตกระบวนการผลิตสื่ออย่างมีส่วนร่วมส่งผลให้เกิดการพัฒนาสมรรถนพหุวัฒนธรรม และสมรรถนะการผลิตสื่อวีดิทัศน์ ของนักเรียนอยู่ในระดับกลาง ในการพัฒนาสมรรถนพหุวัฒนธรรมสมรรถนะการผลิตสื่อวีดิทัศน์ของครูอยู่ในระดับกลางและสูง ตามลำดับ ทั้งนี้เกิดจากปัจจัยหนุนเสริมในด้านนโยบายสถานศึกษาในการบรูณาการแนวคิดการศึกษาพหุวัฒนธรรมสู่หลักสูตรสถานศึกษาทัศนคติของผู้บริหารความสนใจพหุวัฒนธรรมศึกษาของครูและนักเรียน เป็นปัจจัยสำคัญในการทำให้สมรรถนพหุวัฒนธรรม และสมรรถนะการผลิตสื่อวีดิทัศน์เกิดการเปลี่ยนแปลงในเชิงบวก ทั้งนี้ในการจัดการเรียนรู้การศึกษาพหุวัฒนธรรมของครูและนักเรียนในกระบวนการวิจัยเพื่อให้ครูและผู้เรียนได้รับการพัฒนาสมรรถนะพหุวัฒนธรรม จำเป็นต้องพิจารณาปัจจัยข้อท้าทาย ได้แก่ ภาระงานของครู ความพร้อมของผู้เรียน และระยะเวลา ที่ส่งผลต่อการพัฒนาความรู้เข้าใจพหุวัฒนธรรมของนักเรียนและครูเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปสู่ข้อถกเถียงในเชิงวิพากษ์และตั้งคำถามเชิงโครงสร้างต่อไป คำสำคัญ: การเรียนรู้พหุวัฒนธรรม, สื่อการเรียนรู้,กระบวนการมีส่วนร่วม,สมรรถนะพหุวัฒนธรรม,การศึกษาพหุวัฒนธรรมen_US
Appears in Collections:EDU: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
590251011 นางสาวณัชชา พรหมศรี.pdf6.29 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.