Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78997
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอลงกรณ์ คูตระกูล-
dc.contributor.authorวิภารินทร์ จอมศรีประเสริฐen_US
dc.date.accessioned2023-10-09T17:03:56Z-
dc.date.available2023-10-09T17:03:56Z-
dc.date.issued2566-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78997-
dc.description.abstractThe objectives of this qualitative research were to investigate the knowledge and understanding about the job performance evaluation system of support personnel at Chiang Mai Rajabhat University, to examine problems of the evaluation system, to explore their expectations about the evaluation system, and to propose a suitable guideline for formulating the evaluation system. A survey was conducted with 83 division directors or equivalent, heads of faculty, college, directorate, institute, bureau and unit offices, and support personnel. The interview was conducted with the director of the Division of Human Resource Management and an individual directly involved in the job performance evaluation. A documentary research was also conducted. The study results revealed that the participants involved in the survey and interview knew and understood about the evaluation system at a high level. Most were able to answer the feedback questions with the majority understanding the implementation of the evaluation results. Most of the problems about the evaluation system were concerned with the evaluation criteria, methods, steps, and forms. Most personnel expected the evaluation criteria and methods to be clear and unidirectional with more and clearer evaluation items. The evaluation could actually be conducted quantitatively and qualitatively. For a suitable evaluation guideline, the criteria and methods should be revised in order to reduce confusion and problems about not following the steps. The criteria and methods should be suitable and clear. The evaluation form should be revised with regard to work groups, evaluation items or indicators with details suitable for each work group.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานen_US
dc.subjectการประเมินผลการปฏิบัติงานen_US
dc.subjectบุคลากรสายสนับสนุนen_US
dc.titleระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeThe Performance evaluation system of support staff, Chiang Mai Rajabhat Universityen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ -- บุคลากร-
thailis.controlvocab.thashบุคลากรทางการศึกษา -- การประเมินศักยภาพ-
thailis.controlvocab.thashการประเมินผลงาน-
thailis.controlvocab.thashการวิเคราะห์งาน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้ความเข้าใจ ปัญหา และความคาดหวัง ต่อระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ และเพื่อเสนอแนวทางในการจัดทำระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ที่เหมาะสม การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้แบบสำรวจกับผู้บริหารหน่วยงาน ในระดับผู้อำนวยการกองหรือเทียบเท่า หัวหน้าสำนักงานคณบดี คณะ วิทยาลัย หัวหน้าสำนักงานผู้อำนวยการ สถาบัน สำนัก หัวหน้างานในหน่วยงาน และบุคลากรสายสนับสนุน จำนวน 83 คน และการสัมภาษณ์ผู้อำนวยการกองบริหารงานบุคคล จำนวน 1 คน และผู้ปฏิบัติบัติงานบริหารงานบุคคล จำนวน 1 คน และศึกษาจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง โดยผลการศึกษาพบว่า ผู้บริหารหน่วยงาน ในระดับผู้อำนวยการกองหรือเทียบเท่า หัวหน้าสำนักงานคณบดี คณะ วิทยาลัย หัวหน้าสำนักงานผู้อำนวยการ สถาบัน สำนัก หัวหน้างาน ในหน่วยงาน และบุคลากรสายสนับสนุน มีระดับความรู้และระดับความเข้าใจในระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่อยู่ในระดับมาก โดยส่วนใหญ่สามารถตอบคำถามในด้านข้อมูลย้อนกลับ ได้แก่ การนำผลการประเมินไปใช้ประโยชน์ได้มากที่สุด นอกจากนี้ยังพบว่า ปัญหาของระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานที่พบส่วนใหญ่เป็นเรื่องของหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงาน และแบบฟอร์มและขั้นตอนในการประเมินผลการปฏิบัติงาน ซึ่งบุคลากรส่วนใหญ่ มีความคาดหวังอยากให้ปรับปรุงหลักเกณฑ์ และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานให้มีความชัดเจน ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน อยากให้มีการพัฒนาแบบประเมินผลการปฏิบัติงานให้มีรายการประเมินที่มีรายละเอียด และชัดเจนมากขึ้น สามารถ ประเมินผลได้จริงทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ทั้งนี้ แนวทางในการจัดทำระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ที่เหมาะสม คือ ควรปรับปรุงหลักเกณฑ์และวิธีการประเมิน เพื่อลดปัญหาการไม่ปฏิบัติตามขั้นตอน และลดความสับสน ยุ่งยาก โดยกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินให้เหมาะสมชัดเจน ควรปรับปรุงแบบประเมิน โดยอาจแยกแบบประเมินตามกลุ่มงานของบุคลากรสายสนับสนุน ปรับปรุงรายการประเมินหรือตัวชี้วัด โดยเพิ่มรายละเอียดของแต่ละหัวข้อ ให้สอดคล้องเหมาะสมกับแต่ละกลุ่มงานen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.