Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78950
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorHataichanok Pandith-
dc.contributor.advisorAussara Panya-
dc.contributor.advisorWutigri Nimlamool-
dc.contributor.authorAreerat Chuasakhonwilaien_US
dc.date.accessioned2023-10-05T18:43:25Z-
dc.date.available2023-10-05T18:43:25Z-
dc.date.issued2021-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78950-
dc.description.abstractChromolaena odorata (L.) R.M. King & H. Rob., Praxelis clematidea R.M. King & H. Rob., Ageratum conyzoides L. and Ageratina adenophora R.M. King & H. Rob. are Asteraceae plants that widespread in Thailand and many countries. They have been used as hemostatic, anti-inflammatory, and wound dressing agents. C. odorata and its main active component, scutellarein tetramethyl ether (scu) has been intensively reported for their anti-inflammatory molecular mechanisms at the molecular level. However, other three plants have not been studied. This study investigated the anti- inflammatory activity of these three plants compared with C. odorata extract and identified their active compounds. All plants leaves were extracted with 70% ethanol and analyzed main components by Thin layer chromatography (TLC). The anti- inflammatory activity was investigated in gene and protein levels in RAW 264.7 macrophage cell line. The main active compound was high-performance liquid chromatography (HPLC). From our results, the four extracts contained flavonoids i.e.scu and quercetin, phenolic compounds i.e. eugenol and gallic acid, stilbene i.e. lupeol, and terpenoids i.e. oxyresveratrol. Afterward, the extracts and all compounds were examined on cytotoxicity using MTT (3-(4,5-Dimethylthiazol-2-yl)-2,5- Diphenyltetrazolium Bromide) assay. The expressions of inflammatory COX-2 and iNOS proteins and genes including COX-2, iNOS, IL-6, TNF- α, PGE-2(EP2) and EP4 were studied using western blot and quantitative reverse transcription polymerase chain reaction (qRT-PCR), respectively. All the extracts exhibited no cytotoxicity in high doses. C. odorata extract at a concentration of less than 600 µg/ml, P. clematidea, A. conyzoides and A. adenophora extracts at a concentrations of less than 800 µg/ml, scu at 20-200 µg/ml, gallic acid and quercitin at 1-500 µg/ml, eugenol at 1-100 µg/ml and oxyresveratrol at 2.5-25 µg/ml, and lupeol at 2.5-10 µg/ml had no cytotoxicity, providing over 70% of cell viability. All plant extracts and their compounds could dramatically reduce COX-2 and iNOS proteins and all genes expressions in a dose- dependent manner. Among all extracts, P. clematidea was the most effective extract. However, the HPLC presented that scu is not the only one main active component. P. clematidea did not have highest amount of scu according to highest activity. A. adenophora (10.11 %w/w), P. clematidea (8.64 %w/w), C. odorata (7.64 %w/w) and A. conyzoides (6.94 %w/w) contained the highest to lowest amount of scu in order. This study supported that all active compounds had synergistic effect. This research supports the anti-inflammatory efficacy of these four medicinal plants and their active compounds through NF-kB pathway.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleComparative anti-inflammatory efficiencies of the leaf extracts of Chromolaena odorata, Praxelis clematidea, Ageratum conyzoides and Ageratina Adenophoraen_US
dc.title.alternativeการเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการต้านการอักเสบของสารสกัดใบสาบเสือสาบแมว สาบแร้งสาบกา และสาบหมาen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshPlant extracts-
thailis.controlvocab.lcshAnti-inflammatory agents-
thailis.controlvocab.lcshInflammation-
thailis.controlvocab.lcshBioactive compounds-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractสาบเสือ สาบแมว สาบแร้งสาบกา และสาบหมา เป็นพืชตระกูล Asteraceae ที่สามารถพบ ได้แพร่หลายทั้งในประเทศไทยและหลายประเทศ พืชเหล่านี้ถูกนำไปใช้ในการห้ามเลือด ต้าน อักเสบ และรักษาแผล โดยมีร้ายงานการวิจัยกลไกการออกฤทธิ์ต้านอักเสบของสารสกัดใบสาบเสือ และสารออกฤทธิ์หลัก ได้แก่ สาร scutellarein tetramethyl ether (scu) แต่พืชอีก 3 ชนิด ยังไม่มี รายงานกลไกการออกฤทธิ์ ที่ชัดเจน งานวิจัยนี้ได้ศึกษาประสิทธิภาพในการต้านอักเสบของสาร สกัดพืชทั้ง 3 ชนิด เปรียบเทียบกับสารสกัดสาบเสือ และหาสารออกฤทธิ์ที่เป็นองค์ประกอบ โดย สกัดใบของพืชทั้งสี่ชนิดด้วยเอทานอล 70 เปอร์เซ็นต์ จากนั้นศึกษาสารที่เป็นองค์ประกอบหลักด้วย รงคเลขผิวบาง Thin layer chromatography (TLC) ศึกษาการฤทธิ์การต้านอักเสบทั้งในระดับยืนและ โปรตีนในเซลล์เพาะเลี้ยงแมคโครฟาจ RAW 264.7 ศึกษาปริมาณสารออกฤทธิ์หลักด้วยโครมาโต กราฟื้ของเหลวสมรรถณะสูง High-perforrance liquid chromatography (HPLC) ตามลำคับ จาก การทคสอบพบว่า ในสารสกัดทั้งสี่ชนิด มีสารสำคัญที่เป็นองค์ประกอบร่วมกันในกลุ่มฟลาโว นอยด์ ได้แก่ scu และ quercetin สารประกอบฟินอลิก ได้แก่ engenol และ gallic acid สารสติลบีน ได้แก่ lupeol และสารประกอบเทอร์พีนอยด์ ได้แก่ oxyresveratrol จากนั้นนำสารสกัดและ สารสำคัญทั้งหมดไปหาความเข้มข้นที่ไม่เป็นพิษต่อเซลล์ด้วยเทคนิค MIT (3-[4.,5- dimethylthiazole-2-y1/-2,5-diphenyltetrazolium bromide) ทดสอบการแสดงออกของโปรตีน COX- 2 และ iNOร และยืนที่เกี่ยวข้องกับการอักเสบ ได้แก่ COX-2, iNOS, IL-6, TNF- α, PGE-2(EP2) และ EP4 ด้วยเทคนิค Western blot และการวิเคราะห์ด้วยเทคนิคปฏิกิริยาลูกโซ่พอลิเมอเรสแบบ ย้อนกลับ quantitative reverse transcription-polymerase chain reaction (qRT-PCR) ตามลำดับ สาร สกัดทั้งสี่ชนิดไม่มีความเป็นพิษต่อเซลล์ที่ความเข้มข้นสูง โดยสารสาบเสือที่ความเข้มข้นน้อยกว่า 600 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร สารสกัดสาบแมว สาบแร้งสาบกาและสาบหมาที่ความเข้มข้นน้อยกว่า 800 ไมโครกรัมมิลลิลิตร สารออกฤทธิ์ scu 20-200 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร gallic acid และ quercitin ที่ 1-500 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร eugenol ที่ 1-100 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร oxyresveratrol ที่ 2.5-25 ไมโครกรัม/มิลลิลิตรและ lupeol ที่ 2.5-10 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร ไม่มีความเป็นพิษต่อเซลล์โดยให้ เปอร์เซ็นต์การอยู่รอดของเซลล์มากกว่า 70 เปอร์เซ็นต์ และสามารถลดการแสดงออกของโปรตีน COx-2 และ iNOS และยีนทั้งหมดได้ตามความเข้มข้นที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะ ในสารสกัดสาบแมวที่มี ประสิทธิภาพสูงที่สุด จากการตรวจสอบปริมาณสาร scu ด้วย HPLC พบว่าสาร scu ไม่ได้เป็นสาร ออกฤทธิ์หลักเพียงชนิดเดียว สารสกัดสาบแมวไม่ได้มีปริมาณ scu สูงสุดแม้จะมีฤทธิ์ดีที่สุด สาร สกัดสาบหมา (10.11 %w/w) สารสกัดสาบแมว (8.64 %w/w) สารสกัดสาบเสือ (7.64 %w/w) และ สารสกัดสาบแร้งสาบกา (6.94 %/*) มีปริมาณ scu จากมากไปน้อยตามลำดับ ซึ่งแสดงให้เห็นว่า สารออกฤทธิ์ทุกชนิดทำงานร่วมกันเพื่อเสริมฤทธิ์ การศึกษานี้สนับสนุนประสิทธิภาพในการด้าน การอักเสบของพืชสมุน ไพรทั้งสี่ชนิดและสารออกฤทธิ์ ผ่านการยับยั้งในกลไก nuclear factor kappa B (NF-KB)en_US
Appears in Collections:SCIENCE: Theses



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.