Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78944
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธเนศวร์ เจริญเมือง-
dc.contributor.authorสัพพัญญู วงศ์ชัยen_US
dc.date.accessioned2023-10-05T18:21:10Z-
dc.date.available2023-10-05T18:21:10Z-
dc.date.created2565-
dc.date.issued2565-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78944-
dc.description.abstractThis thesis aims to investigate the war of positions in school systems between Siam and Lanna from 1902 to 1939. The research results show that Siam employed bureaucratic and legal mechanisms to modernize Siam as a modern state and govern Lanna after it became a province of Siam in 1899. In 1902, however, the rebellion in Phrae province shaped a new administrative mechanism of Siam in Lanna through cultivating a Thai language and nationalist ideology in civil servants, schools, and general department schools, and expanding the public school system to people thoroughly. The Ministry of Interior played a role in implementing that administrative mechanism, and controlling the Thai Buddhist community or Sangha through the Sangha Administration Act. The monastery thus became one of the most important mechanisms to enhance the public school system in Lanna. Initially, the Lanna schools were to serve a political purpose of Siam to be a modern state, which required skilled and educated people. Later, the educational policy supported the nationalist ideology have increasingly played an important role in building a sense of unity between the Siamese and Lanna people under the reign of Rama VI. Moreover, the ministry issued the Primary Education Act in 1921 to make the educational system compulsory for Thai children. This act increased the national consciousness of Thai people and was reproduced until the Siamese revolution in 1932. It could be seen that the revolution had reduced an influence of the Thai monarchy by enhancing the Thai constitution. Over the four decades in the time-based process, lastly, Lanna completely became an integral part of Thailand under the One Thai policy during the premiership of Luang Phibunsongkhram.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleระบบการศึกษาและอำนาจนำของสยามในล้านนา พ.ศ. 2445-2482en_US
dc.title.alternativeEducation system and hegemony of Siam in Lanna, 1902-1939en_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.thashการศึกษา -- ไทย-
thailis.controlvocab.thashการศึกษา – ล้านนา-
thailis.controlvocab.thashการศึกษากับรัฐ-
thailis.controlvocab.thashไทย -- ประวัติศาสตร์ -- ล้านนา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีเป้าหมายเพื่อศึกษาการแย่งชิงพื้นที่ทางความคิดในระบบโรงเรียน ระหว่างรัฐสยามและล้านนาในช่วงปี พ.ศ. 2445-2482 ผลการศึกษาพบว่า ภายหลังการผนวกล้านนา เป็นมณฑลพายัพของสยามในปี พ.ศ. 2442 สยามได้ใช้กลไกราชการและกฎหมายในการปกครอง พื้นที่ และการศึกษามีบทบาทในการผลิตซ้ำข้าราชการเพื่อสนองรัฐสมัยใหม่ที่กำลังเติบใหญ่ กระทั่ง ภายหลังการก่อกบฏในเมืองแพร่ ในปี พ.ศ. 2445 รัฐสยามจึงเริ่มเปลี่ยนแนวทางในการปกครอง ผ่าน การปลูกฝั่งความรู้ภาษาไทย และอุดมการณ์ความภักดีต่อชาติในโรงเรียนข้าราชการพลเรือนและ โรงเรียนแผนกสามัญ และมีการขยายระบบโรงเรียนของรัฐอย่างกว้างขวางมากยิ่งขึ้น ผ่านกลไกการ ปกครองในกระทรวงมหาดไทย และการควบคุมคณะสงฆ์ผ่านพระราชบัญญัติปกครองสงฆ์ และให้ วัดกลายเป็นหนึ่งในกลไกสำคัญที่จะช่วยให้กิจการโรงเรียนในล้านนาขยายตัวมากขึ้น โรงเรียนในล้านนาในช่วงแรกมุ่งเน้นการตอบสนองการขยายตัวของรัฐสมัยใหม่ ที่ต้องการ บุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ กระทั่งต่อมา ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว นโยบายการศึกษาเพื่อสนองอุดมการณ์ชาตินิยมได้เริ่มมีบทบาทมากยิ่งขึ้นในการสร้างสำนึกความเป็น พวกเดียวกันระหว่างคนในล้านนาและชาวสยาม และยิ่งขยายตัวมากขึ้นภายหลังการประกาศใช้ พระราชบัญญัติประถมศึกษา พ.ศ. 2464 เพื่อบังคับให้เด็กเข้าเรียนทุกคน ทำให้สำนึกความเป็นชาติ สามารถขยายตัวได้มากยิ่งขึ้นผ่านระบบโรงเรียน การผลิตซ้ำความเป็นชาติดำเนินมาจนกระทั่ง ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 โดยลดบทบาทของพระมหากษัตริย์ลง และเพิ่ม บทบาทของรัฐธรรมนูญ ตลอดจนนโยบายไทยเดียวในสมัยหลวงพิบูลย์สงคราม ทำให้ล้านนา กลายเป็นส่วนหนึ่งของประเทศไทยen_US
Appears in Collections:POL: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621931011 สัพพัญญู วงศ์ชัย.pdf6.96 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.