Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78910
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรพงศ์ ตระการศิรินนท์-
dc.contributor.authorศิขรินทร์ อันทรินทร์en_US
dc.date.accessioned2023-10-02T10:43:34Z-
dc.date.available2023-10-02T10:43:34Z-
dc.date.issued2013-06-27-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78910-
dc.description.abstractThe objectives of this study are 1) analyses level of public participation with Mae Hong Son Provincial Administrative Organization; 2) to study the public participation to budget process of the Mae Hong Son Provincial Administrative Organization; 3) promote public participation with Mae Hong Son Provincial Administrative Organization. This study is based on the mixed methods by collecting questionnaire and interview. Data collected by questionnaire form 200 simple and interview 5 Key Informants. The study found that people in Mae Hong Son Provincial has decision making in the annual budgeting in high level with 79.5 precent. Mae Hong Son Provincial Administrative Organization uses the law as a basis in allowing the public to participate in the expenditure budget. However, it focusses to participation by representative.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการมีส่วนร่วมของประชาชนen_US
dc.titleการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำงบประมาณรายจ่ายขององค์การบริหารส่วนจังหวัดแม่ฮ่องสอนen_US
dc.title.alternativePublic participation in annual budgeting of the Mae Hong Son provincial administrative organizationen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashองค์การบริหารส่วนจังหวัดแม่ฮ่องสอน-
thailis.controlvocab.thashการปกครองท้องถิ่น -- แม่ฮ่องสอน-
thailis.controlvocab.thashการปกครองท้องถิ่น -- การมีส่วนร่วมของประชาชน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของประชาชนภายในท้องถิ่นในการเข้ามามีส่วนร่วมจัดทำงบประมาณรายจ่ายขององค์การบริหารส่วนจังหวัดแม่ฮ่องสอน 2) เพื่อศึกษาการเปิดโอกาสให้ประชาชนภายในท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมจัดทำงบประมาณรายจ่ายขององค์การบริหารส่วนจังหวัดแม่ฮ่องสอน และ 3) เพื่อศึกษาแนวทางการส่งเสริมให้ประชาชนในท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดทำงบประมาณรายจ่ายขององค์การบริหารส่วนจังหวัดแม่ฮ่องสอน โดยอาศัยวิธีวิจัยแบบผสม ซึ่งพิจารณาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลในเชิงปริมาณ โดยการสอบถามกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 200 คน และข้อมูลในเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 5 คน โดยผลการศึกษาพบว่า ประชาชนในพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอนเข้ามามีส่วนร่วมจัดทำงบประมาณรายจ่ายขององค์การบริหารส่วนจังหวัดแม่ฮ่องสอนอยู่ในระดับมาก ในอัตราเฉลี่ยร้อยละ 79.5 โดยส่วนใหญ่เป็นการเข้ามามีส่วนร่วมในระดับการมีส่วนร่วมตัดสินใจ ซึ่งสอดคล้องกับการดำเนินการขององค์การบริหารส่วนจังหวัดแม่ฮ่องสอนที่เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดทำงบประมาณรายจ่าย โดยส่วนใหญ่จะมีลักษณะเป็นการมีส่วนร่วมในทางอ้อมและยืดถือตามระเบียบแบบแผนของทางราชการ ทั้งนี้ เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดทำงบประมาณรายจ่ายขององค์การบริหารส่วนจังหวัดแม่ฮ่องสอนมากยิ่งขึ้น องค์การบริหารส่วนจังหวัดแม่ฮ่องสอนควรมีแนวทางการส่งเสริมให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดทำงบประมาณรายจ่ายโดยผ่านกลไกตัวแทนของประชาชน ได้แก่ สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด และขยายไปสู่กลุ่มผู้นำชุมชน กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ในการกระตุ้นให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมได้อย่างยั่งยืนต่อไปen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
641932042 ศิขรินทร์ อันทรินทร์.pdf1.54 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.