Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78909
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปฐมาวดี จงรักษ์-
dc.contributor.authorณัฐธิดา มอญเพชร์en_US
dc.date.accessioned2023-10-02T10:39:04Z-
dc.date.available2023-10-02T10:39:04Z-
dc.date.issued2023-05-26-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78909-
dc.description.abstractThis research aims to investigate the collaboration process in managing the symbolic building of Chaophraya Yom Riverside (Passaorn) in Nakhon Sawan Province. The specific objectives are as follows: 1) To examine the collaboration process in managing the symbolic building of Chaophraya Yom Riverside (Passaorn) in Nakhon Sawan Province; 2) To explore the patterns of collaboration in managing the symbolic building of Chaophraya Yom Riverside (Passaorn) in Nakhon Sawan Province; 3) To study the strategies for developing collaboration in managing the symbolic building of Chaophraya Yom Riverside (Passaorn) in Nakhon Sawan Province. This qualitative research utilizes in-depth interviews with a total of 15 participants divided into three groups: 1) Government sector, including the Tourism Authority of Thailand, Nakhon Sawan Provincial Office, and Nakhon Sawan Municipality; 2) Private sector, including the Nakhon Sawan Chamber of Commerce, Tourism Industry Association of Nakhon Sawan, and Nakhon Sawan Hotel and Restaurant Association; 3) Civil society, represented by local community members. The content analysis of collected data from relevant documents and interview transcripts is employed to analyze and identify significant and sustainable tourism attractions. The study findings revealed that the main factors contributing to the involvement of various stakeholders in the management of the Chao Phraya Yommaraj Riverside Pavilion (Passan) are the roles and responsibilities played by different parties and the scarcity of resources, particularly budgetary constraints. These factors generate motivation and drive for cooperation. However, concerning the management of the Passan in Nakhon Sawan Province, the primary agency involved is the Nakhon Sawan Municipality, resulting in limited collaboration in the management process. Various forms of cooperation in managing the iconic riverside pavilion exist, including: 1) Boundary-based management: This form of cooperation involves collaboration between governmental agencies, units, or organizations that operate based on their respective tasks and responsibilities. 2) Vertical cooperation: It entails cooperation among personnel within an organization operating under regulations, rules, and guidelines, including adherence to directives between the unit leader and employees. 3) Donor-recipient cooperation: This form arises from individuals or entities providing financial support to those responsible for the management of the Passan. The aim is to encourage construction and development of the iconic riverside pavilion through monetary donations. 4) Voluntary cooperation: It refers to cooperation that occurs based on personal willingness to participate in the operations. This form relies on voluntary engagement. Therefore, to promote sustainable cooperation in the management of the Chao Phraya Yommaraj Riverside Pavilion (Passan), it may be necessary to establish guidelines and criteria for consistent collaboration. This would create awareness and involvement, fostering a sense of ownership and driving the development of the iconic riverside pavilion.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาความร่วมมือในการจัดการอาคารสัญลักษณ์ต้นแม่น้ำเจ้าพระยา (พาสาน) จังหวัดนครสวรรค์en_US
dc.title.alternativeThis research aims to investigate the collaboration process in managing the symbolic building of Chaophraya Yom Riverside (Passaorn) in Nakhon Sawan Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashความร่วมมือระหว่างองค์การ-
thailis.controlvocab.thashความร่วมมือ-
thailis.controlvocab.thashเครื่องหมายและสัญลักษณ์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาการพัฒนาความร่วมมือในการจัดการอาคารสัญลักษณ์ต้นแม่น้ำเจ้าพระยา (พาสาน) จังหวัดนครสวรรค์ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษากระบวนการความร่วมมือในการจัดการอาคารสัญลักษณ์อาคารสัญลักษณ์ต้นแม่น้ำเจ้าพระยา (พาสาน) จังหวัดนครสวรรค์ 2) เพื่อศึกษารูปแบบความร่วมมือในการจัดการอาคารสัญลักษณ์ต้นแม่น้ำเจ้าพระยา (พาสาน) จังหวัดนครสวรรค์ 3) เพื่อศึกษาแนวทาง การพัฒนาความร่วมมือในการจัดการอาคารสัญลักษณ์ต้นแม่น้ำเจ้าพระยา (พาสาน) จังหวัดนครสวรรค์ เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก จำนวน 3 กลุ่ม จำนวนรวม 15 คน ประกอบด้วย 1) กลุ่มภาครัฐ ได้แก่ สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดนครสวรรค์ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สำนักงานนครสวรรค์ และเทศบาลนครนครสวรรค์ 2) กลุ่มภาคเอกชน ได้แก่ หอการค้าจังหวัดนครสวรรค์ สภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวจังหวัดนครสวรรค์ และสมาคมธุรกิจท่องเที่ยว โรงแรม และร้านอาหารนครสวรรค์ 3) กลุ่มภาคประชาชน ผู้วิจัยเลือกใช้การวิเคราะห์เนื้อหาจากการรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิจากเอกสารที่เกี่ยวข้อง และข้อมูลปฐมภูมิจากการสัมภาษณ์ มาประกอบการวิเคราะห์ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญและยั่งยืนต่อไป ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยหลักสำคัญที่ทำให้ภาคส่วนต่าง ๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินการ คือบทบาทอำนาจหน้าที่ และการขาดแคลนทรัพยากร โดยเฉพาะงบประมาณ ทำให้เกิดแรงจูงใจที่ก่อให้เกิดการผลักดันให้เกิดความร่วมมือกัน แต่สำหรับการบริหารจัดการพาสาน จังหวัดนครสวรรค์ มีหน่วยงานหลัก คือ เทศบาลนครนครสวรรค์ ทำให้ความร่วมมือในการบริหารจัดการมีไม่มากนัก ซึ่งรูปแบบความร่วมมือในการจัดการอาคารสัญลักษณ์ต้นแม่น้ำเจ้าพระยามีด้วยกันหลายรูปแบบ ดังนี้ 1) รูปแบบการบริหารจัดการบนฐานแห่งขอบเขตภาระหน้าที่ คือ ความร่วมมือระหว่างส่วนราชการ หน่วยงาน หรือองค์กรต่าง ๆ ที่ดำเนินการตามภารกิจ และอำนาจหน้าที่ของหน่วยงาน 2) รูปแบบความร่วมมือแนวดิ่ง คือความร่วมมือระหว่างบุคลากรในองค์กรที่ดำเนินการภายใต้กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับ รวมถึงการดำเนินการตามสายการบังคับบัญชาระหว่างหัวหน้าหน่วยงาน กับผู้ปฏิบัติงาน 3) รูปแบบความร่วมมือแบบผู้ให้และผู้รับ คือ เกิดขึ้นจากการผู้ที่มีบทบาทเป็นผู้ให้เงินสนับสนุน กับผู้ที่รับบทบาทเป็นผู้รับเงินสนับสนุน จากการบริจาคเงินเพื่อมุ่งหวังให้เกิดการก่อสร้างและพัฒนาอาคารสัญลักษณ์ต้นแม่น้ำเจ้าพระยา 4) รูปแบบความร่วมมือตามความพอใจ คือ ความร่วมมือที่เกิดขึ้นตามความสมัครใจในการเข้ามาร่วมดำเนินการ ดังนั้น หากจะพัฒนาความร่วมมือในการจัดการอาคารสัญลักษณ์ต้นแม่น้ำเจ้าพระยา หรือพาสานให้เกิดความยั่งยืน อาจจำเป็นต้องมีการกำหนดแนวทาง และหลักเกณฑ์ในการหารือร่วมกันอย่างสม่ำเสมอ เพื่อสร้างการรับรู้ และการมีส่วนร่วมให้เกิดการตระหนักถึงความเป็นเจ้าของสถานที่ และเกิดแรงผลักดันในการพัฒนาอาคารสัญลักษณ์ต้นแม่น้ำเจ้าพระยาให้เกิดความยั่งยืนมากยิ่งขึ้นen_US
Appears in Collections:POL: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
641932005 -ณัฐธิดา มอญเพชร์.pdf1.69 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.