Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78884
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรพล เศรษฐบุตร-
dc.contributor.authorปรียานุช นิพาพันธ์en_US
dc.date.accessioned2023-09-16T14:15:50Z-
dc.date.available2023-09-16T14:15:50Z-
dc.date.issued2023-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78884-
dc.description.abstractThis research study found that, Most of the farmers were male, with an average age of 53 years. marital status, completed primary school education. The average experience in agriculture is 19 years. Income from the agricultural sector in 2019 averaged 76,454 baht per year, have a role in the household being a family member/resident, having a status/role in the community Most of them are farmers' networks, and membership in groups/social networks a group of farmers. In this regard, the farmers' attitudes in using the DOAE Farmbook application were at the agree level. When considering the details of each issue, it was found that DOAE Farmbook application is important to a career. There are improvements and developments. Regular use of the DOAE Farmbook application. DOAE Farmbook application complete coverage. Information disclosed on the DOAE Farmbook application is current and reliable. And the DOAE Farmbook application is designed to be user friendly. In addition, 96.20 percent of farmers The DOAE Farmbook application is installed. The device used for installation is a mobile phone, android system. 99.10 percent of farmers accessed the DOAE Farmbook application from public relations. from the district agricultural office. The average DOAE Farmbook application install time was 1.33 years. 50.70 percent will use the DOAE Farmbook application in the morning - noon (06.00 - 12.00) The average DOAE Farmbook application usage time was 7.71 minutes. by most places of use is at home. The frequency of accessing the DOAE Farmbook application averaged 1.65 times per week. The category that has access to the DOAE Farmbook application the most is notification of planting/improvement Farmer Registration Database. and the cash crop in use is rice. From the hypothesis analysis, it was found that Differences between some basic personal, economic and social data and farmers' attitudes toward the use of the DOAE Farmbook application. It was found that sex, age, experience in agricultural occupation And different incomes have different attitudes to use DOAE Farmbook application. with a statistical significance level of 0.05 in terms of education level and group/social network membership status Different people have different attitudes towards using DOAE Farmbook application. Problems and suggestions of farmers are: Accessing some menus of the DOAE Farmbook application is a complex process. Therefore, agricultural extension officers should promote knowledge, training about the use of DOAE Farmbook application. And has produced a variety of media to promote the use of the DOAE Farmbook application. and increase dissemination channels such as making brochures for DOAE Farmbook application usage. Making a video of using the DOAE Farmbook application that is easy to understand. There are clear steps to use.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectสมุดทะเบียนเกษตรกรดิจิทัลen_US
dc.titleทัศนคติและพฤติกรรมของเกษตรกรในการใช้สมุดทะเบียนเกษตรกรดิจิทัลอำเภอวังชิ้น จังหวัดแพร่en_US
dc.title.alternativeAttitudes and behavior of farmers using doae farmbook application, Wang Chin District, Phrae Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashเกษตรกร -- วังชิ้น(แพร่)-
thailis.controlvocab.thashการส่งเสริมการเกษตร -- วังชิ้น(แพร่)-
thailis.controlvocab.thashเกษตรกร -- ทัศนคติ-
thailis.controlvocab.thashโปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์เคลื่อนที่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ พบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุเฉลี่ย 53 ปี สถานภาพสมรส จบการศึกษาในระดับประถมศึกษา มีประสบการณ์ในอาชีพเกษตรเฉลี่ย 19 ปี มีรายได้จากภาคเกษตรในปี พ.ศ. 2562 เฉลี่ย 76,454 บาทต่อปี มีบทบาทหน้าที่ในครัวเรือนเป็นสมาชิกในครอบครัว/ผู้อาศัย มีสถานะ/บทบาทในชุมชน ส่วนใหญ่เป็นเครือข่ายเกษตรกร และการเป็นสมาชิกกลุ่ม/เครือข่ายทางสังคม เป็นกลุ่มเกษตรกร ทั้งนี้ เกษตรกรมีทัศนคติในการใช้สมุดทะเบียนเกษตรกรดิจิทัลของเกษตรกรอยู่ในระดับเห็นด้วย เมื่อพิจารณารายละเอียดแต่ละประเด็นพบว่า สมุดทะเบียนเกษตรกรดิจิทัลมีความสำคัญต่อการประกอบอาชีพ มีการปรับปรุงและพัฒนา การใช้งานของสมุดทะเบียนเกษตรกรดิจิทัลอย่างสม่ำเสมอ สมุดทะเบียนเกษตรกรดิจิทัลครอบคลุม ครบถ้วน ข้อมูลที่เปิดเผยบนสมุดทะเบียนเกษตรกรดิจิทัลมีความเป็นปัจจุบันและเชื่อถือได้ และสมุดทะเบียนเกษตรกรดิจิทัลมีการออกแบบให้น่าใช้งาน อีกทั้งเกษตรกรร้อยละ 96.20 มีการติดตั้งสมุดทะเบียนเกษตรกรดิจิทัล โดยอุปกรณ์ที่ใช้การติดตั้ง คือ โทรศัพท์มือถือที่เป็น ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ ร้อยละ 99.10 ของเกษตรกรเข้าถึงสมุดทะเบียนเกษตรกรดิจิทัล จากการประชาสัมพันธ์จากสำนักงานเกษตรอำเภอ ระยะเวลาการติดตั้งสมุดทะเบียนเกษตรกรดิจิทัลเฉลี่ย อยู่ที่ 1.33 ปี ร้อยละ 50.70 จะใช้งานสมุดทะเบียนเกษตรกรดิจิทัล ในช่วงเช้า - เที่ยง (เวลา 06.00 - 12.00น.) ระยะเวลาการใช้งานสมุดทะเบียนเกษตรกรดิจิทัลเฉลี่ยที่ 7.71 นาที โดยสถานที่ใช้งาน ส่วนใหญ่ คือ ที่บ้าน ความถี่ในการเข้าใช้งานสมุดทะเบียนเกษตรกรดิจิทัลเฉลี่ยที่ 1.65 ครั้งต่อสัปดาห์ หมวดหมู่ที่เข้าใช้งานสมุดทะเบียนเกษตรกรดิจิทัลมากที่สุด คือ การแจ้งปลูก/ปรับปรุง ฐานข้อมูลทะเบียนเกษตรกร และพืชเศรษฐกิจในการใช้งานคือ ข้าว จากการวิเคราะห์สมมติฐาน พบว่า ความแตกต่างระหว่างข้อมูลพื้นฐานส่วนบุคคล เศรษฐกิจ และสังคมบางประการกับทัศนคติของเกษตรกรที่มีต่อการใช้สมุดทะเบียนเกษตรกรดิจิทัล พบว่า เพศ อายุ ประสบการณ์ในอาชีพเกษตร และรายได้ที่แตกต่างกันมีทัศนคติการใช้สมุดทะเบียนเกษตรกรดิจิทัลที่แตกต่างกัน อย่างมีระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในส่วนของระดับการศึกษา และสถานภาพการเป็นสมาชิกกลุ่ม/เครือข่ายสังคม ที่แตกต่างกันมีทัศนคติการใช้สมุดทะเบียนเกษตรกรดิจิทัลไม่ต่างกัน ปัญหาและข้อเสนอแนะของเกษตรกร ได้แก่ การเข้าใช้งานในบางเมนูของสมุดทะเบียนเกษตรกรดิจิทัล มีขั้นตอนที่ยุ่งยาก และซับซ้อน ดังนั้น เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรกรควรส่งเสริม ความรู้ การฝึกอบรม เกี่ยวกับการใช้งานสมุดทะเบียนเกษตรกรดิจิทัล และมีการผลิตสื่อในการส่งเสริมการใช้งานสมุดทะเบียนเกษตกรดิจิทัลให้มีความหลากหลาย และเพิ่มช่องทางการเผยแพร่ เช่น การทำแผ่นพับการใช้งานสมุดทะเบียนเกษตกรดิจิทัล การทำวิดีทัศน์การใช้งานสมุดทะเบียนเกษตรกรดิจิทัลที่เข้าใจง่าย มีขั้นตอนการใช้งานที่ชัดเจนen_US
Appears in Collections:AGRI: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610832010 ปรียานุช นิพาพันธ์.pdf4.66 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.